The Impact of Warfarin Therapy on Quality of Life in Akatumnauy Hospital

คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยที่ใช้ยาวาร์ฟารินในโรงพยาบาลอากาศอำนวย

Authors

  • ประริเนตร เดชวรวาทิน Akat Amnuayi Hospital, Akat Amnuay District, Sakon Nakhon Province, THAILAND
  • พุทธิพงศ์ อารีรัตน์ Akat Amnuayi Hospital, Akat Amnuay District, Sakon Nakhon Province, THAILAND

DOI:

https://doi.org/10.55674/ajhe.v1i2.1417

Keywords:

คุณภาพชีวิต, ยาวาร์ฟาริน, ผู้ป่วยโรคหัวใจ, การใช้ยา

Abstract

การวิจัยเชิงพรรณนาแบบตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยที่ใช้ยาวาร์ฟารินในโรงพยาบาลอากาศอำนวย กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยที่ใช้ยาวาร์ฟารินในคลินิกวาร์ฟาริน โรงพยาบาลอากาศอำนวย จังหวัดสกลนคร ปี พ.ศ. 2566 จำนวน 84 คน เก็บข้อมูลในเดือนมีนาคม พ.ศ.2566 เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถามคุณภาพชีวิตผู้ป่วยเอสเอฟ-36 ฉบับภาษาไทย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา

        ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 59.5 ช่วงอายุระหว่าง 65 - 74 ร้อยละ 38.1 เป็นผู้ป่วยโรคหัวใจ ร้อยละ 85.7 ใช้ยาวาร์ฟารินเป็นระยะเวลา 1 - 5 ปี ร้อยละ 59.5 และในรอบหนึ่งเดือน       ที่ผ่านมาไม่เคยลืมรับประทานยาเลย ร้อยละ 73.8 ส่วนใหญ่มีคุณภาพชีวิตอยู่ในระดับปานกลาง คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 41.88 (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 18.15) โดยมิติด้านร่างกายและด้านจิตใจ มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 47.63 และ 55.07 ตามลำดับ ข้อเสนอแนะถึงผู้ดูแลหรือโรงพยาบาลควรจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมให้ระดับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยดีขึ้นทั้งด้านร่างกายและจิตใจ

References

(1) Hirsh J, Shannon M. Clinical trials that have influenced the treatment of venous thromboembolism: a historical perspective. Ann Intern Med. 2002;137(2):144-5.

(2) Heit JA. Epidemiology of venous thromboembolism. Nature reviews Cardiology. 2015;12(8):464-74.

(3) Kang Y, Bahler R. Health-related quality of life in patients newly diagnosed with atrial fibrillation. European journal of cardiovascular nursing : journal of the Working Group on Cardiovascular Nursing of the European Society of Cardiology. 2004;3(1):71-6.

(4) Carvalho AR, Ciol MA, Tiu F, Rossi LA, Dantas RA. Oral Anticoagulation : the impact of the therapy in health-related quality of life at six-month follow-up. Revista latino-americana de enfermagem. 2013;21:105-12.

(5) Radaideh KM, Matalqah LM. Health-related quality of life among atrial fibrillation patients using warfarin therapy. EPIDEMIOLOGY BIOSTATISTICS AND PUBLIC HEALTH. 2018;15(1).

(6) Ware JE, Sherbourne CD. The MOS 36-Item Short-Form Health Survey (SF-36): I.conceptual framework and item selection. Med Care 1992;30(6):473-83.

(7) วัชรี เลอมานุกุล และปารณีย์ มีแต้ม. “การพัฒนาแบบสอบถามคุณภาพชีวิต SF-36 ภาษาไทยฉบับแปลใหม่”วารสารไทยเภสัชสาร 24,2 (2543) :92-111.

(8) Corbi IS, Dantas RA, Pelegrino FM, Carvalho AR. Health related quality of life of patients undergoing oral anticoagulation therapy. Revista latino-americana de enfermagem. 2011;19(4):865-73.

(9) Witassek F, Springer A, Adam L, Aeschbacher S, Beer JH, Blum S, et al. Health-related quality of life in patients with atrial fibrillation: The role of symptoms, comorbidities, and the type of atrial fibrillation. PLoS ONE. 2019:14(12):e0226730.

(10) Coons SJ, Rao S, Keininger DL, Hays RD. A comparative review of generic quality-of-life instruments. Pharmacoeconomics. 2000;17(1):13-35.

(11) Anderson RT, Aaronson NK, Wilkin D. Critical review of the international assessments of health-related quality of life. Qual Life Res. 1993;2(6):369-95.

Downloads

Published

2023-09-22

How to Cite

เดชวรวาทิน ป. ., & อารีรัตน์ พ. . (2023). The Impact of Warfarin Therapy on Quality of Life in Akatumnauy Hospital: คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยที่ใช้ยาวาร์ฟารินในโรงพยาบาลอากาศอำนวย. วารสารวิชาการสุขภาพและสิ่งแวดล้อม, 1(2), 1417. https://doi.org/10.55674/ajhe.v1i2.1417