ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองต่อการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2: ช่วงมาตรการผ่อนคลายโควิด-19

Authors

  • Thunyalak Sanbudda Nakha Health Promotion Hospital, Wapipatum District, Mahasarakham Province, THAILAND
  • Sudaporn Luenam Nakha Health Promotion Hospital, Wapipatum District, Mahasarakham Province, THAILAND
  • Suphawinee Lardnongkhun Nakha Health Promotion Hospital, Wapipatum District, Mahasarakham Province, THAILAND
  • Kamthorn Dana Srimahasarakham Nursing College, Faculty of Nursing, Praboromarajchanok Institute, Mahasarakham Province, THAILAND

DOI:

https://doi.org/10.55674/ajhe.v1i1.531

Keywords:

ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2, โปรแกรมการจัดการตนเอง, การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด

Abstract

การวิจัยกึ่งทดลองแบบกลุ่มเดียววัดผลก่อนหลัง (One group pretest-posttest design) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการจัดการตนเองต่อการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ในชุมชนชนบท กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มีระดับ Hba1c 7% ขึ้นไปใช้วิธีสุ่มอย่างง่าย จำนวน 62 คน โปรแกรมทดลอง 12 สัปดาห์ ประกอบด้วย การสร้างการยอมรับ การตั้งเป้าหมาย ให้ข้อมูลที่จำเป็น การใช้ตัวแบบ การวางแผน และฝึกทักษะการดูแลตัวเอง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามความรู้และพฤติกรรมการจัดการตนเองและแบบบันทึกทางเวชระเบียนระดับน้ำตาลในเลือด วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติ paired t-test ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยก่อน และหลังเข้าร่วมโปรแกรม

        ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 61.29 อายุเฉลี่ย 54.26 ปี (S.D. = 2.43) มีสถานภาพสมรสคู่ ร้อยละ 72.58 จบการศึกษาระดับประถมศึกษา ร้อยละ 74.19 และมีผู้ดูแลในครอบครัว ร้อยละ 87.1 หลังทดลองกลุ่มตัวอย่างมีค่าคะแนนความรู้ และการจัดการตนเองด้านการปฏิบัติตัวเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.001) ระดับน้ำตาลในเลือดของกลุ่มตัวอย่างลดลงน้อยกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีระดับนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.001)  โปรแกรมการจัดการตนเองส่งผลให้ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ผู้ให้บริการด้านสุขภาพและเครือข่ายในชุมชนควรส่งเสริมให้ผู้ป่วยเบาหวานสามารถจัดการตนเองเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสังคมวิถีใหม่

References

International Diabetes Federation. IDF Diabetes atlas. 9th ed. Brussels, Belgium: IDF; 2019.

International Diabetes Federation. Diabetes atlas eighth edition. [online] 2020 [cited 2022 October 20]. Available from: http://diabetesatlas.org/resources/2020-atlas.html

The Diabetes Association of Thailand. Clinical Practice Guildline for Diabetes 2018. 2nd ed. Bangkok: Diabetes Association of Thailand under the Pratonage of Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn; 2018.

นลิน จรุงธนกิจ. ผลระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่รับบริการตามแนวทางการให้บริการผู้ป่วยสถานการณ์พิเศษ (โควิด-19) โรงพยาบาลไทรงาม. วารสารศูนย์อนามัยที่ 9. 2564;15(36):129 – 142.

Ryan, P., & Sawin, K.J. The Individual and Family Self-Management Theory: background and perspectives on context, process, and outcomes. Nursing outlook. 2009; 57(4): 217 – 225.e6.

Cho, M.K., & Kim, M.Y. Self-Management Nursing Intervention for Controlling Glucose among Diabetes: A Systematic Review and Meta-Analysis. International journal of environmental research and public health. 2021;18(23), 12750.

Kohn M.A S.J. Sample Size Calculators [website] UCSF CTSI; 2020 [cited 2022 August 20]. Available from: https://www.sample-size.net/

Wanna J, Terathongkum S, Thipsuwannakool V. Effects of Arm Swing Exercise Program on HbA1c and Nutritional Status in Adults with Type 2 Diabetes in Community. BKK Med J. 2018;14(1):23.

John W., Reich F.J. Perceived control: theory, research, and practice in the first 50 years. New York: Oxford University Press; 2016.

O’Hea L.E., Moon S., Grothe B.K., Boudreaux E., Bodenlos S.J., Wallston K., et al. The interaction of locus of control, self-efficacy, and outcome expectancy in relation to HbA1c in medically underserved individuals with type 2 diabetes. J Behav Med 2009; 32(1):106-17.

Joni S.W., Cheryl P.L., Voronca D., Leonard E. Health locus of control and cardiovascular risk factors in veterans with type 2 diabetes. Endocrine 2016; 51(1): 83-90.

Bandura A. Self-efficacy: toward a unifying theory of behavioral change. Psychological review 1977; 84 2: 191-215.

Evans R. Self-Efficacy in Learning Science. In: R. Gunstone R, editor. Encyclopedia of Science Education. Dordrecht: Springer Netherlands; 2021. p. 1-4.

Pastor D.K.. Home sweet home: a concept analysis of home visiting. Home Healthcare Now 2006; 24(6): 389-394.

Han L., Ma Y., Wei S., Tian J., Yang X., Shen X., et al. Are home visits an effective method for diabetes management? A quantitative

systematic review and meta-analysis. J Diabetes Investig 2017; 8(5): 701-708.

Wattana C., Srisuphan W., Pothiban L., Upchurch S.L. Effects of a diabetes self management program on glycemic:control, coronary heart disease risk, and quality of life among Thai patients with type 2 diabetes. Nurs Health Sci 2007: 9.

Stroup J., Kane M.P., Busch R.S., Bakst G., Hamilton R.A. The diabetes home visitation program. American Journal of Pharmaceutical Education. 2003; 67(1/4): 683.

Dong Y., Wang P., Dai Z., Liu K., Jin Y., Li A., et al. Increased self-care activities and glycemic control rate in relation to health education via Wechat among diabetes patients: A randomized clinical trial. Medicine (Baltimore) 2018;97(50): e13632.

Madmoli M., Madmoli M., Aliabad M.A., Khodadadi M., Ahmadi F.P. A systematic review on the impact of empowerment in improving self-care behaviors and some other factors in diabetic patients. International Journal of Health and Biological Sciences 2019; 2(1): 11-16.

Downloads

Published

2022-12-29

How to Cite

Sanbudda, T., Luenam, S., Lardnongkhun, S., & Dana, K. (2022). ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองต่อการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2: ช่วงมาตรการผ่อนคลายโควิด-19 . วารสารวิชาการสุขภาพและสิ่งแวดล้อม, 1(1), 531. https://doi.org/10.55674/ajhe.v1i1.531