https://he03.tci-thaijo.org/index.php/PBRI/issue/feed
วารสารวิจัยนวัตกรรมและหลักฐานเชิงประจักษ์ทางสุขภาพ
2024-09-11T00:00:00+07:00
ดร. อัจฉรา คำมะทิตย์
adcharakham@bcnu.ac.th
Open Journal Systems
<p>วารสารวิจัยนวัตกรรมและหลักฐานเชิงประจักษ์ทางสุขภาพ ดำเนินงาน โดย วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี ร่วมกับ องค์การนักศึกษาสถาบันพระบรมราชชนก เปิดรับบทความผลงานวิจัย นวัตกรรม และบทความทางวิชาการจากหลักฐานเชิงประจักษ์ของนักศึกษา อาจารย์ บุคลากร และศิษย์เก่า สังกัดสถาบันพระบรมราชชนก ในด้านการแพทย์ การพยาบาล การสาธารณสุขการศึกษาในสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ และด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์สุขภาพ</p> <p>กำหนดออกปีละ 2 ฉบับ คือ</p> <p>มกราคม - มิถุนายน</p> <p>กรกฎาคม - ธันวาคม</p>
https://he03.tci-thaijo.org/index.php/PBRI/article/view/3177
ผลของการใช้นวัตกรรมเข็มขัดสวนล้างสำหรับทารกที่มีลำไส้เปิดทางหน้าท้อง
2024-09-01T21:56:06+07:00
กนกนิภา สงเคราะห์
yuree@pnc.ac.th
กนกวรรณ บำรุงกิจ
yuree@pnc.ac.th
กมลพร แสงเงินรอด
yuree@pnc.ac.th
กมลพรรณ เถียรทิน
yuree@pnc.ac.th
กรกต รัตนวงษ์
yuree@pnc.ac.th
กรรธิชา หัตถี
yuree@pnc.ac.th
กฤษณา ศรีทะประกอบ
yuree@pnc.ac.th
ขวัญกมล วิมลโนช
yuree@pnc.ac.th
กัญญาภัค เมืองโคตร
yuree@pnc.ac.th
กันฐิกา กอบสุข
yuree@pnc.ac.th
ยุรี เชาวน์พิพัฒน์
yuree@pnc.ac.th
<p>การวิจัยกึ่งทดลองชนิด 1 กลุ่มวัดหลังการทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้นวัตกรรมเข็มขัดสวนล้างสำหรับทารกที่มีลำไส้เปิดทางหน้าท้อง กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลพระปกเกล้า อาจารย์พยาบาลและนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3 วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี ปีการศึกษา 2567 จำนวนรวม 33 คน เครื่องมือที่ได้แก่ นวัตกรรมเข็มขัดสวนล้างสำหรับทารกที่มีลำไส้เปิดทางหน้าท้อง แบบบันทึกแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้นวัตกรรมฯ ดำเนินการวิจัยในเดือนเมษายน 2567 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ จำนวน ร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า</p> <p>หลังใช้นวัตกรรมเข็มขัดสวนล้างสำหรับทารกที่มีลำไส้เปิดทางหน้าท้อง กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจนวัตกรรมเข็มขัดสวนล้างสำหรับทารกที่มีลำไส้เปิดทางหน้าท้องในระดับมาก</p> <p>ควรปรับปรุงนวัตกรรมเข็มขัดสวนล้างสำหรับทารกที่มีลำไส้เปิดทางหน้าท้องให้ดีขึ้นและศึกษาประสิทธิผลของนวัตกรรมดังกล่าวผ่านการวิจัยทดลองที่มีกลุ่มควบคุม</p>
2024-09-11T00:00:00+07:00
Copyright (c) 2024 สถาบันพระบรมราชชนก
https://he03.tci-thaijo.org/index.php/PBRI/article/view/3083
ผลของการจัดกิจกรรมเรียนรู้แยกขยะผ่านละครสร้างสรรค์แบบมีส่วนร่วมต่อการเพิ่มทักษะแยกขยะของเด็กประถมศึกษาปีที่ 1 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลบ่อพลอย อำเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด
2024-08-16T06:44:53+07:00
นวรัตน์ เหลือง เหลืองโสมนภา
cardionursing@hotmail.com
กฤษฎา ชูจิตร
cardionursing@hotmail.com
กฤษณะ มณีมา
cardionursing@hotmail.com
กฤษณา กองสมัคร
cardionursing@hotmail.com
ประไพวดี สุพิศ
cardionursing@hotmail.com
ปรียานุช สื่อสุวรรณ์
cardionursing@hotmail.com
พัทธดนย์ เขียวสง่า
cardionursing@hotmail.com
สุธาทิพย์ ไสยแพทย์
cardionursing@hotmail.com
ธนโชติ พิมพ์แก้ว
cardionursing@hotmail.com
ปิยะทัศน์ ชัยภา
cardionursing@hotmail.com
กฤษณา สระแสง
cardionursing@hotmail.com
ยศพล เหลืองโสมนภา
cardionursing@hotmail.com
<p>การวิจัยกึ่งทดลองแบบกลุ่มวัดก่อน - หลังครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบทักษะแยกขยะของเด็กประถมศึกษาปีที่ 1 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลบ่อพลอย อำเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด ก่อนและหลังได้รับกิจกรรมสร้างการเรียนรู้แยกขยะผ่านละครสร้างสรรค์แบบมีส่วนร่วม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลบ่อพลอย อำเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด ปีการศึกษา 2567 จำนวน 18 คน เครื่องมือในการวิจัยได้แก่ กิจกรรมสร้างการเรียนรู้แยกขยะผ่านละครสร้างสรรค์แบบมีส่วนร่วมและแบบสังเกตทักษะการแยกขยะ ดำเนินกิจกรรมการทดลองในวันที่ 4 มิถุนายน 2567 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ จำนวน ร้อยละ และ McNemar test ผลการวิจัยพบว่า</p> <p>หลังได้รับกิจกรรมสร้างการเรียนรู้แยกขยะผ่านละครสร้างสรรค์แบบมีส่วนร่วมกลุ่มตัวอย่างมีทักษะการแยกขยะดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001</p> <p>ดังนั้นครูสามารถนำกิจกรรมสร้างการเรียนรู้แยกขยะผ่านละครสร้างสรรค์แบบมีส่วนร่วมนี้ไปฝึกทักษะการแยกขยะของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 1 ได้ เพื่อให้เกิดพฤติกรรมการแยกขยะที่ดีในอนาคตของเยาวชนต่อไป</p>
2024-09-11T00:00:00+07:00
Copyright (c) 2024 สถาบันพระบรมราชชนก
https://he03.tci-thaijo.org/index.php/PBRI/article/view/3079
ประสิทธิผลสื่อเสมือนจริง Arm Step Sensor Version II สำหรับนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี
2024-08-16T05:38:26+07:00
สิริภัทร วงศ์ชาลี
krujeip@gmail.com
จุฑาภรณ์ ตั้งมั่นดี
krujeip@gmail.com
ธนภัค พิมพ์แก้ว
krujeip@gmail.com
ธนัญชัย พฤกโกษ
krujeip@gmail.com
ธิญาดา พนาลิกุล
krujeip@gmail.com
ธีรนัย ชินบุตร
krujeip@gmail.com
สิริยากร อินทวงศ์
krujeip@gmail.com
สุรชัย คำใบ
krujeip@gmail.com
อมรรัตน์ อัครเศรษฐสกุล
krujeib@gmail.com
<p>การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองมีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อหาประสิทธิผลด้านความรู้จากการใช้งานสื่อเสมือนจริง Arm Step Sensor Version II และความพึงพอใจของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี ต่อสื่อเสมือนจริง Arm Step Sensor Version II กลุ่มตัวอย่างคือนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 2 - 4 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีอุดรธานี จำนวน 54 คนกำหนดขนาดตัวอย่างโดยใช้โปรแกรม G* power ได้ค่าความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับวัตถุประสงค์เท่ากับ 0.67 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ สถิติ Dependent pair t-test ผลการวิจัยพบว่า</p> <p> หลังใช้สื่อ นักศึกษาพยาบาลมีความรู้เรื่องการพันผ้าเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยทักษะการพันผ้าปฏิบัติถูกต้องเป็นส่วนใหญ่อยู่ในระดับมาก นักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2 มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด (<em>M</em> = 4.76, <em>SD</em> = 2.65) รายข้อส่วนใหญ่มีทักษะล้างมือก่อนลงมือปฏิบัติการพันผ้ามากที่สุด (<em>M</em> = 4.70, <em>SD</em> = 0.54) ความพึงพอใจคุณภาพของสื่อ นักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3 สูงที่สุด (<em>M</em> = 4.52, <em>SD</em> = 0.47) รายข้อมีความพึงพอใจด้านนวัตกรรมมีความสวยงาม ทันสมัย น่าใช้งานมากที่สุด (<em>M</em> = 4.57, <em>SD</em> = 0.63)</p> <p>จากผลการศึกษาพบว่าการใช้สื่อการเรียนการสอนทำให้นักศึกษามีความรู้เพิ่มมากขึ้นและสามารถพัฒนาทักษะได้อย่างมีประสิทธิภาพอาจารย์ผู้สอนควรเห็นความสำคัญในการใช้สื่อในการประกอบการเรียนการสอนและผู้บริหารสถานศึกษาควรให้การสนับสนุนโมเดลหรือสื่อประกอบการเรียนการสอนเพื่อให้นักศึกษาเกิดการเรียนรู้และ มีความเข้าใจในเนื้อหาที่สามารถนำไปฝึกทักษะต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความชำนาญได้</p>
2024-09-11T00:00:00+07:00
Copyright (c) 2024 สถาบันพระบรมราชชนก
https://he03.tci-thaijo.org/index.php/PBRI/article/view/3071
ปัญหาการประเมินพัฒนาการเด็กโดยใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) ของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 4 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี
2024-08-08T21:43:25+07:00
เกศริน บรรเทา
gessarinbantao@bcnu.ac.th
ชลิดา แก้วประทุม
gessarinbantao@bcnu.ac.th
ธัญชนิต ขัตติยะ
gessarinbantao@bcnu.ac.th
ฤทัยรัตน์ กอแก้ว
gessarinbantao@bcnu.ac.th
วรรณพร ดูหฤคำ
gessarinbantao@bcnu.ac.th
ศศิณา เฮียงมา
gessarinbantao@bcnu.ac.th
ศศิธร สามา
gessarinbantao@bcnu.ac.th
อรจิรา โตมาชา
gessarinbantao@bcnu.ac.th
อารียา บัวงาม
gessarinbantao@bcnu.ac.th
จุฑารัตน์ ลมอ่อน
gessarinbantao@bcnu.ac.th
<p>วิจัยเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาการประเมินพัฒนาการเด็ก โดยการใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) ของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 4 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี ประชาการและกลุ่มตัวอย่าง เป็นนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 4 จำนวน 146 คน โดยใช้วิธีเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม ซึ่งผู้วิจัยได้ดำเนินการสร้างเป็นแบบสอบถามออนไลน์แล้วจึงเก็บข้อมูลแบบออนไลน์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ แจกแจงความถี่ ร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานในการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า</p> <p>ความคิดเห็นของนักศึกษาต่อปัญหาในการประเมินพัฒนาการเด็กโดยใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) โดยภาพรวมรายด้านพบว่าด้านการจัดการเรียนการสอน อยู่ในระดับมาก (<em>M</em> = 3.89, <em>SD</em> = 0.74) ปัญหาที่พบมากได้แก่ จำนวนชั่วโมงเรียนในการเรียนเรื่องการประเมินพัฒนาการเด็ก โดยใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) ไม่ค่อยเพียงพอ รองลงมาคือด้านผู้เรียน และด้านสิ่งสนับสนุน ตามลำดับ (<em>M</em> = 3.84, <em>SD</em> = 0.80), (<em>M</em> = 3.63, <em>SD</em> = 0.80)</p> <p>คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) ควรถูกนำมาทดลองใช้และนำไปปฏิบัติในการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนเพื่อช่วยเพิ่มทักษะการประเมินเด็กดปฐมวัยในนักศึกษาพยาบาล</p>
2024-09-12T00:00:00+07:00
Copyright (c) 2024 สถาบันพระบรมราชชนก
https://he03.tci-thaijo.org/index.php/PBRI/article/view/3114
ผลของการใช้เม็ดฟู่กำจัดลูกน้ำและป้องกันการวางไข่ของยุงลายต่อความพึงพอใจของนักศึกษา และบุคลากรในวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี
2024-08-31T20:14:37+07:00
ชุติกาญจน์ ปานทอง
waranya1@pnc.ac.th
โชติมา แสงทอง
waranya1@pnc.ac.th
ญดา วันทาวงศ์
waranya1@pnc.ac.th
ญาณิศา อินบำรุง
waranya1@pnc.ac.th
ญาณิศา โพธิ์แก้ว
waranya1@pnc.ac.th
ญาณิศา พินโท
waranya1@pnc.ac.th
ฐิตาภรณ์ รัตพูล
waranya1@pnc.ac.th
ฐิติมา ภุมรินทร์
waranya1@pnc.ac.th
ณภัทร เขตสมุทร
waranya1@pnc.ac.th
ณัฏฐกมล ดาวฉาย
waranya1@pnc.ac.th
กรรณิการ์ พรงาม
waranya1@pnc.ac.th
กฤษณี สุวรรณรัตน์
waranya1@pnc.ac.th
วรัญญา ชลธารกัมปนาท
waranya1@pnc.ac.th
<p>การวิจัยและพัฒนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนานวัตกรรมและศึกษาความพึงพอใจต่อการใช้นวัตกรรมเม็ดฟู่กำจัดลูกน้ำและป้องกันการวางไข่ของยุงลายของนักศึกษาและบุคลากรในวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี จำนวน 20 ราย โดยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบประเมินความพึงพอใจในการใช้นวัตกรรมเม็ดฟู่กำจัดลูกน้ำและป้องกันการวางไข่ของยุงลาย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า</p> <p><span style="font-size: 0.875rem;">1. นวัตกรรมเม็ดฟู่กำจัดลูกน้ำและป้องกันการวางไข่ของยุงลายของนักศึกษาและบุคลากรในวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี สามารถกำจัดลูกน้ำได้ทั้งหมด แต่ไม่สามารถกำจัดตัวโม่งได้ และไม่พบการวางไข่ของยุงลายเพิ่มขึ้น ซึ่งในน้ำยังคงมีกลิ่นของสมุนไพรยาวนานถึง 6 วัน เม็ดฟู่ละลายภายใน 1 นาที และใช้เวลาประมาณ 24 ชั่วโมง ในการกำจัดลูกน้ำยุงลาย</span></p> <p><span style="font-size: 0.875rem;">2. ความพึงพอใจในนวัตกรรมเม็ดฟู่กำจัดลูกน้ำและป้องกันการวางไข่ของยุงลาย ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (</span><em style="font-size: 0.875rem;">M</em><span style="font-size: 0.875rem;"> = 4.75, </span><em style="font-size: 0.875rem;">SD</em><span style="font-size: 0.875rem;">= 0.49) พบว่าความพึงพอใจด้านความสะดวกสบายในการ ใช้งานอยู่ในระดับมากที่สุดเป็นลำดับแรก (</span><em style="font-size: 0.875rem;">M</em><span style="font-size: 0.875rem;"> = 4.85, </span><em style="font-size: 0.875rem;">SD</em><span style="font-size: 0.875rem;">= 0.36) รองลงมาได้แก่ ด้านความสะดวกสบายในการพกพา (</span><em style="font-size: 0.875rem;">M</em><span style="font-size: 0.875rem;"> = 4.75, </span><em style="font-size: 0.875rem;">SD</em><span style="font-size: 0.875rem;">= 0.44) และกลิ่นที่คนส่วนใหญ่พึงพอใจมากที่สุด คือ กลิ่นสาระเเหน่</span></p> <p>ดังนั้นควรพัฒนาระยะเวลาการคงอยู่ของกลิ่นสมุนไพรในการใช้งานให้ยาวนานยิ่งขึ้นและควรมีการศึกษาถึงปริมาณของส่วนผสมต่างๆที่เหมาะสมในเม็ดฟู่ ปริมาณน้ำความเป็นกรดด่างของน้ำ เพื่อจะสามารถนำไปใช้ได้ทุกสภาพน้ำ</p>
2024-09-12T00:00:00+07:00
Copyright (c) 2024 สถาบันพระบรมราชชนก