https://he03.tci-thaijo.org/index.php/scintc/issue/feed
วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีนอร์ทเทิร์น
2025-01-12T09:23:28+07:00
Dr.Phutthipong Makmai
journalsci@northern.ac.th
Open Journal Systems
<p><span style="font-size: 0.875rem;"><strong>วัตถุประสงค์ของการจัดพิมพ์วารสาร </strong><br /> 1. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้นักวิชาการ คณาจารย์ นิสิต นักศึกษา และบุคคลทั่วไป ได้เผยแพร่บทความทางวิชาการและบทความวิจัยที่มีคุณภาพ <br /> 2. เพื่อเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ด้านวิชาการ และด้านการวิจัย</span></p> <p><span style="font-size: 0.875rem;"><strong>กำหนดการเผยแพร่ </strong> <br /> </span><span style="font-size: 0.875rem;">ปีละ 4 ฉบับ<br /> ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม - มีนาคม <br /> ฉบับที่ 2 เดือน เมษายน - มิถุนายน<br /> ฉบับที่ 3 เดือน กรกฎาคม - กันยายน<br /> ฉบับที่ 4 เดือน ตุลาคม - ธันวาคม</span></p> <p><span style="font-size: 0.875rem;"><strong>เจ้าของวารสาร </strong> <br /> วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น</span></p> <p><span style="font-size: 0.875rem;"><strong>สำนักงาน </strong><br /> กองบรรณาธิการวารสาร ฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการ วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น <br /> 888 หมู่ 2 ถนนพหลโยธิน (แนวเก่า) ตำบลหนองบัวใต้ อำเภอเมือง จังหวัดตาก 63000<br /> โทรศัพท์ 055-517488 ต่อ 5</span></p>
https://he03.tci-thaijo.org/index.php/scintc/article/view/3753
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลนาขุม อำเภอบ้านโคก จังหวัดอุตรดิตถ
2025-01-10T15:04:45+07:00
ศรสวรรค์ ปรุณห์สิริ
SONSAWAN1970@Gmail.com
<p>บทคัดย่อ <br>การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพ<br>ชีวิตของผู้สูงอายุเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาขุม อำเภอบ้านโคก จังหวัดอุตรดิตถ์ ประชากรคือ <br>ผู ้สูงอายุที ่มีรายชื ่อตามทะเบียนบ้านเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาขุม อำเภอบ้านโคก จังหวัด<br>อุตรดิตถ์ พ.ศ.2567 จำนวน 341 คน โดยใช้สูตรการคำนวณกลุ่มตัวอย่างที่ทราบจำนวนประชากรที่แน่นอน<br>ของ Daniel ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 200 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูลคือ <br>แบบสัมภาษณ์ ประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ คุณลักษณะส่วนบุคคล ความรอบรู ้ด้านสุขภาพ และคุณภาพ<br>ชีวิต ทดสอบคุณภาพของแบบสัมภาษณ์โดยแบบสัมภาษณ์ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื ้อหาจาก<br>ผู ้เชี ่ยวชาญ จำนวน 3 ท่าน และนำไปทดลองใช้เพื ่อวิเคราะห์ค่าความเชื ่อมั ่นโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ ์แอล<br>ฟ่าครอนบาค ได้ค่าความเชื ่อมั ่นของแบบสัมภาษณ์ เท่ากับ 0.95 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติสัมประสิทธิ์<br>สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ พบว่า ปัจจัยที ่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของ<br>ผู ้สูงอายุ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ด้านความรอบรู ้ด้านสุขภาพ (P-value<0.001) ประกอบด้วย ความรู้<br>ความเข้าใจ (P-value<0.001) การเข้าถึงข้อมูลทางสุขภาพและบริการสุขภาพ (P-value=0.002) การสื่อสาร<br>เพิ ่มความเชี ่ยวชาญ (P-value<0.001) และการจัดการตนเองให้มีความปลอดภัย (P-value=0.015) <br>ตามลำดับ</p>
2024-12-31T00:00:00+07:00
Copyright (c) 2025
https://he03.tci-thaijo.org/index.php/scintc/article/view/3754
ประสิทธิผลโปรแกรมพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง เขตอำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
2025-01-10T15:08:36+07:00
นูรมา สมการณ์
Nurma@gmail.com
<p>บทคัดย่อ <br>การวิจัยกึ่งทดลองมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลโปรแกรมพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่<br>อยู่ในภาวะพึ่งพิงเขตอำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้สูงอายุที่ป่วยเป็นโรคเรื้อรัง จำนวน <br>40 ราย โปรแกรมพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู ้สูงอายุที ่อยู ่ในภาวะพึ ่งพิง ประกอบด้วย 5 กิจกรรม ได้แก่ <br>กิจกรรมที่ 1 การเสริมสร้างความรู้และทัศนคติ กิจกรรมที่ 2 การให้คำปรึกษา กิจกรรมที่ 3 การสนับสนุนให้<br>กำลังใจและการกระตุ ้นเตือนโดยใช้แรงสนับสนุนทางสังคม กิจกรรมที ่ 4 การสร้างการรับรู ้ด้านสุขภาพ <br>กิจกรรมที่ 5 ทีมสหวิชาชีพออกเยี่ยมบ้าน ระยะเวลาทดลอง 5 เดือน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช่แบบสัมภาษณ์ <br>การวิเคราะห์ข้อมูลโดย ใช้สถิติ Paired t-test ผลการวิจัยพบว่า ภายหลังการทดลองผู ้สูงอายุมี ค่าคะแนน<br>เฉลี ่ ยของคุณภาพชีวิต เพิ ่มขึ ้นเมื ่อเทียบกับก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t=8.908, P<br>value<0.001) ดังนั ้นในการศึกษาครั ้งต่อไปควรมีการนำโปรแกรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู ้สูงอายุไป<br>ขยายผลในกลุ่มผู้สูงอายุทั้ง 3 ช่วงอายุคือ ผู้สูงอายุวัยต้น (อายุ 60-69 ปี) ผู้สูงอายุวัยกลาง (อายุ 70-79 ปี) <br>และผู ้สูงอายุวัยปลาย (อายุ 80 ขึ ้นไป) เพื่อศึกษาว่าโปรแกรมมีประสิทธิผลในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ<br>ผู้สูงอายุหรือไม่เมื่อเปรียบเทียบทั้ง 3 กลุ่มอายุ</p>
2024-12-31T00:00:00+07:00
Copyright (c) 2025
https://he03.tci-thaijo.org/index.php/scintc/article/view/3755
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชของเกษตรกรผู้ปลูก ข้าวในพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านด่านนาขาม อำเภอเมืองจังหวัดอุตรดิตถ
2025-01-10T15:12:09+07:00
วสันต์ หนองคาย
wnongkhai@gmail.com
<p>บทคัดย่อ <br>การวิจัยเชิงพรรณนามีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ด้านสุขภาพ<br>และพฤติกรรมการป้องกันการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชของเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ประชากรคือ เกษตรกรผู้ปลูก<br>ข้าวที ่มีรายชื ่อตามทะเบียนบ้านและอาศัยอยู ่ในพื ้นที่จริงอย่างน้อย 1 ปีขึ ้นไป ในพื ้นที ่โรงพยาบาลส่งเสริม<br>สุขภาพตำบลบ้านด่านนาขาม อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ จำนวน 879 คน โดยใช้สูตรการคำนวณขนาด<br>กลุ่มตัวอย่างของ Daniel เท่ากับ 267 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม <br>ประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ คุณลักษณะส่วนบุคคล ความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมการป้องกันการใช้<br>สารเคมีกำจัดศัตรูพืช แบบสอบถามผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื ้อหาจากผู ้เชี ่ยวชาญ 3 ท่าน และ<br>นำไปทดลองใช้เพื ่อวิเคราะห์ค่าความเชื ่อมั ่น โดยใช้สูตรสัมประสิทธิ ์แอลฟ่าครอนบาค เท่ากับ 0.81 <br>วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สัมประสิทธิ ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า ความรอบรู ้ด้านสุขภาพ <br>ประกอบด้วย การเข้าถึงข้อมูลทางสุขภาพและบริการสุขภาพ ความรู ้ความเข้าใจทางสุขภาพ ทักษะการ<br>สื่อสาร ทักษะการตัดสินใจ การจัดการตนเอง การรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ ภาพรวมมีคะแนนเฉลี่ยความ<br>รอบรู ้ด้านสุขภาพ อยู ่ในระดับสูง (83.10%) ความรอบรู ้ด้านสุขภาพ มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการ<br>ป้องกันการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชของเกษตรกรผู ้ปลูกข้าวในพื ้นที ่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้าน<br>ด่านนาขาม อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ด้านการสื ่อสาร (r=-0.070, P<br>value=0.256) ด้านทักษะการจัดการตนเอง (r=0.364, P-value<0.001) ทักษะการตัดสินใจ (r=-0.126, P<br>value=0.040) การรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ (r=-0.147, P-value=0.016) ตามลำดับ</p>
2024-12-31T00:00:00+07:00
Copyright (c) 2025
https://he03.tci-thaijo.org/index.php/scintc/article/view/3756
การพัฒนารูปแบบการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ในพื้นที่ตำบลปางมะค่า อำเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวัดกำแพงเพชร
2025-01-10T15:15:56+07:00
พรกมล พรปภานันท์
koong2019@hotmail.com
<p>บทคัดย่อ <br>การศึกษาวิจัยครั ้งนี ้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ Action Research ตามกรอบแนวคิด Kemmis, and <br>McTaggart (1988) ประกอบด้วย การวางแผน (Planning) การปฏิบัติตามแผน (Action) การสังเกตผล <br>(Observation) การสะท้อนผล (Reflection) มีวัตถุประสงค์เพื ่ อบริบทและปัจจัยที ่ เกี ่ ยวข้อง ศึกษา<br>กระบวนการพัฒนารูปแบบ และศึกษาผลของกระบวนการและปัจจัยแห่งความสำเร็จของการพัฒนารูปแบบการเฝ้า<br>ระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ในพื้นที่ตำบลปางมะค่า อำเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวัด<br>กำแพงเพชรแบ่งกลุ ่มตัวอย่างออกเป็น 2 กลุ ่ม คือ กลุ่มผู ้บริหารท้องถิ ่นและเครือข่ายในพื ้นที ่ที ่เป็นผู ้มีหน้าที่<br>เกี ่ยวข้อง และตัวแทนภาคประชาชนและผู ้ปกครองหรือผู ้แทนผู ้ปกครอง เก็บข้อมูลโดยการใช้แบบสอบถาม <br>วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ อัตราส่วน ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิธีสัมภาษณ์เชิงลึก <br>การประชุมกลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา <br>ผลการศึกษา พบว่า คะแนนเฉลี ่ยความรู ้ เท่ากับ 28.72 ± 3.25 คะแนนเฉลี ่ยเจตคติ 10.50 ± 3.05 <br>คะแนนเฉลี่ยพฤติกรรม 11.94 ± 3.93 และคะแนนเฉลี่ยการรับรู้การดำเนินงานเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก<br>ปฐมวัย 9.72 ± 4.60 ระบบเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตำบลปางมะค่า <br>จังหวัดกำแพงเพชร ประกอบด้วย ระยะที่ 1 การวางแผน ศึกษาข้อมูลและแนวทางที่เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาระบบคัด<br>กรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ระยะที ่ 2 ขั ้นปฏิบัติ ฝึกอบรมผู ้มีส่วนร่วม ให้สามารถดำเนินการ พัฒนาและจัด<br>กิจกรรมที ่ส่งเสริมให้เด็กและผู ้ปกครองมีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง นำการฝึกอบรมที ่พัฒนา<br>แล้วไปใช้ในสถานการณ์จริงและเริ ่มดำเนินกิจกรรมการคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ระยะที ่ 3 ขั ้นสังเกต <br>ประเมินความร่วมมือและความพึงพอใจของทั้งกลุ่มผู้บริหารและกลุ่มผู้ปฏิบัติงานที่เข้าร่วมโครงการ ระยะที่ 4 ขั้น<br>สะท้อนผล สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการ และปัญหาที ่พบเจอพบว่าระบบการคัดกรองพัฒนาการเด็กมี<br>ประสิทธิภาพในการติดตามพัฒนาการตามช่วงอายุ แต่มีปัญหาจากผู ้ปกครองบางรายที่ขาดความตระหนักและไม่<br>สะดวกในการเข้าร่วมกิจกรรมเฝ้าระวัง ผลของกระบวนการคือมีความถึงพอใจต่อกระบวนการพัฒนา ร้อยละ 85</p>
2024-12-31T00:00:00+07:00
Copyright (c) 2025
https://he03.tci-thaijo.org/index.php/scintc/article/view/3757
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันอันตรายจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ของเกษตรกรผู้ปลูกอ้อยในพื้นที่ตำบลข่อยสูง อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ
2025-01-10T15:19:29+07:00
บุญยงค์ บุคำ
teshow_model@hotmail.co.th
<p>บทคัดย่อ <br>การวิจัยเชิงพรรณนา วัตถุประสงค์เพื ่อศึกษาปัจจัยที ่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกัน<br>อันตรายจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชของเกษตรกรผู้ปลูกอ้อย ประชากรคือ เกษตรกรผู้ปลูกอ้อยในพื้นที่<br>ตำบลข่อยสูงและอาศัยอยู ่ในพื้นที ่ตำบลข่อยสูง ปีงบประมาณ พ.ศ.2567 จำนวน 328 คน โดยใช้สูตรการ<br>คำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างของ Daniel เท่ากับ 194 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ เก็บข้อมูลโดยใช้<br>แบบสอบถาม ประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ คุณลักษณะส่วนบุคคล การรับรู้ด้านสุขภาพ และพฤติกรรมการ<br>ป้องกันอันตรายจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช แบบสอบถามผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื ้อหาจาก<br>ผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน และนำไปทดลองใช้เพื่อวิเคราะห์ค่าความเชื่อมั่นโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าครอนบาค <br>เท่ากับ 0.911 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สัมประสิทธิ ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่มี<br>ความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันอันตรายจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชประกอบด้วย การรับรู้<br>ประโยชน์ (P-value=0.001), การรับรู ้อุปสรรค (P-value<0.001), สิ ่งชักนำเพื ่อให้เกิดการป้องกัน (P<br>value<0.001) ระยะเวลาในการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช (P-value=0.018) ตามลำดับ</p>
2024-12-31T00:00:00+07:00
Copyright (c) 2025
https://he03.tci-thaijo.org/index.php/scintc/article/view/3758
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำ หมู่บ้าน ในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังแดง จังหวัดอุตรดิตถ์
2025-01-10T15:44:24+07:00
นิรุจน์ แก้วกรี
ron_201@hotmail.com
<p>บทคัดย่อ <br>การวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการป้องกันและควบคุมโรค<br>ไข้เลือดออกของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู ่บ้านในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังแดง <br>จังหวัดอุตรดิตถ์ ประชากรคือ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านที่ปฏิบัติงานอยู่จริงไม่น้อยกว่า 6 เดือน <br>ในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังแดง จังหวัดอุตรดิตถ์ ประจำปีงบประมาณ 2567 จำนวน 130 <br>คน โดยใช้สูตรการคำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างของ Daniel เท่ากับ 108 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ <br>เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ประกอบด้วย 4 ส่วน ได้แก่ คุณลักษณะส่วนบุคคล การรับรู้ด้านสุขภาพ แรง<br>สนับสนุนทางสังคม และพฤติกรรมการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก แบบสอบถามผ่านการตรวจสอบ<br>ความตรงตามเนื ้อหาจากผู ้เชี ่ยวชาญ 3 ท่าน และนำไปทดลองใช้เพื ่อวิเคราะห์ค่าความเชื ่อมั ่นโดยใช้สูตร<br>สัมประสิทธิ ์แอลฟ่าครอนบาค เท่ากับ 0.85 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผล<br>การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ พบว่า ปัจจัยที ่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันและควบคุมโรค<br>ไข้เลือดออกของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู ่บ้าน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที ่ระดับ 0.05 ได้แก่ ด้าน<br>การรับรู ้ด้านสุขภาพ (P-value=0.020) ประกอบด้วย การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคไข้เลือดออก (P<br>value=0.042) และด้านแรงสนับสนุนทางสังคม (P-value=0.025) ประกอบด้วย แรงสนับสนุนจากชุมชน<br>และครอบครัว (P-value=0.029) ตามลำดับ</p>
2024-12-31T00:00:00+07:00
Copyright (c) 2025
https://he03.tci-thaijo.org/index.php/scintc/article/view/3759
ประสิทธิผลของโปรแกรมการฝึกผ่อนคลายและการให้ความรู้สำหรับสตรี ที่มีภาวะเจ็บครรภ์คลอด งานการพยาบาลผู้คลอด โรงพยาบาลศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย
2025-01-10T15:47:58+07:00
นันทวัน แก้วรักถา
nantawan.tom07@gmail.com
<p>บทคัดย่อ <br>การวิจัยแบบกึ ่งทดลอง เพื ่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการฝึกผ่อนคลายและการให้ความรู้<br>สำหรับสตรีที ่มีภาวะเจ็บครรภ์คลอด งานการพยาบาลผู ้คลอด โรงพยาบาลศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย <br>กลุ ่มตัวอย่าง คือ หญิงตั ้งครรภ์ที ่มีภาวะเจ็บครรภ์คลอด จำนวน 30 คน แบ่งเป็น กลุ ่มที ่ได้รับการดูแล<br>ตามปกติ จำนวน 15 คน และกลุ่มที่โปรแกรมการฝึกผ่อนคลายและการให้ความรู้ จำนวน 15 คน เครื่องมือ<br>ที ่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ โปรแกรมการการผ่อนคลายกล้ามเนื ้อร่วมกับการให้ความรู ้ เครื ่องมือที ่ใช้เก็บ<br>รวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบทดสอบความรู้เกี ่ยวกับการคลอด แบบประเมินความเครียดของหญิงตั ้งครรภ์ <br>วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา สถิติ Chi-square Wilcoxon sign rank test และ Mann -Whitney <br>U test <br>ผลการศึกษา พบว่า ภายหลังจากได้รับโปรแกรมการฝึกผ่อนคลายและการให้ความรู้ในหญิงตั้งครรภ์<br>เจ็บครรภ์คลอด กลุ่มทดลองมีค่ามัธยฐานคะแนนความรู้ดีกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ และกลุ่มควบคุมอย่างมี<br>นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 และมีค่ามัธยฐานคะแนนความเครียดดีกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ และกลุ่ม<br>ควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 <br>ทั ้งนี ้ พยาบาลห้องคลอดควรนำโปรแกรมการฝึกผ่อนคลายและการให้ความรู ้ไปประยุกต์ใช้ใน<br>การดูแลหญิงตั ้งครรภ์ที ่มีภาวะเจ็บครรภ์คลอด โดยเฉพาะการให้ความรู ้รายบุคคลเกี ่ยวกับกระบวนการ<br>คลอด การเจ็บครรภ์คลอด และเทคนิคการเผชิญความเจ็บปวด</p>
2024-12-31T00:00:00+07:00
Copyright (c) 2025
https://he03.tci-thaijo.org/index.php/scintc/article/view/3760
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการควบคุมความดันโลหิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้ ในคลินิกโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลพญาแมน อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์
2025-01-10T16:37:00+07:00
จันทร์เพ็ญ พวงดอกไม้
jnpn143@gmail.com
<p>บทคัดย่อ <br>การวิจัยเชิงพรรณนามีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการควบคุมความ<br>ดันโลหิตของผู ้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที ่ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้ ในคลินิกโรคความดันโลหิตสูง <br>โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพญาแมน อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ ประชากรคือ ผู ้ป่วยโรคความดัน<br>โลหิตสูง ที่มีระดับความดันโลหิต มากกว่า 140/90 มิลลิเมตรปรอท ติดต่อกัน 6 เดือน ปีพ.ศ.2566 จำนวน <br>119 คน โดยใช้สูตรการคำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างของ Daniel (2010) เท่ากับ 110 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง<br>แบบมีระบบ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ ประกอบด้วย 4 ส่วน ได้แก่ คุณลักษณะส่วนบุคคล ด้านความรู้ <br>ด้านทัศนคติ และพฤติกรรมสุขภาพ แบบสัมภาษณ์ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้เชี่ยวชาญ 3 <br>ท่านและนำไปทดลองใช้เพื่อวิเคราะห์ค่าความเชื่อมั่นโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าครอนบาค เท่ากับ 0.867 <br>วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สัมประสิทธิ ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่ความสัมพันธ์กับ<br>พฤติกรรมการควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ของผู ้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ประกอบด้วย ความรู้ (P<br>value=0.110), ทัศนคติ (P-value<0.001), ทัศนคติต่อการป้องกันโรค(P-value=0.001), ทัศนคติต่อการ<br>ปรับพฤติกรรม (P-value=0.001) ตามลำดับ</p>
2024-12-31T00:00:00+07:00
Copyright (c) 2025
https://he03.tci-thaijo.org/index.php/scintc/article/view/3761
ความรู้ในการปฏิบัติตัวและการมีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคโควิด-19 ของประชาชน หมู่5 บ้านเกาะนาคา ตำบลป่าคลอก อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต
2025-01-10T16:40:57+07:00
ชนิดาภา รักษ์ธรรมกิจ
tangmoorak@gmail.com
<p>บทคัดย่อ <br>การวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Research ) มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความรู้เกี่ยวกับโรคโควิด<br>19 ที่มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันโรคโควิด-19 ของประชาชน หมู่5เกาะนาคา <br>ตำบลป่าคลอก ระยะเวลาดำเนินการระหว่าง เมษายน 2565 – กันยายน 2566 เป็นการวิจัย กลุ่มตัวอย่าง <br>คือ ประชาชนที ่มีอายุตั ้งแต่ 18 ปีขึ ้นไปที ่อยู ่ประจำทุกคนบนเกาะ จำนวน 45 คน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ <br>ข้อมูลคุณลักษณะส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชายร้อยละ 51.11 กลุ่มอายุ38-47 ปี <br>และ 48-57 ปี ร้อยละ 24.45 สถานภาพสมรสคู ่ ร้อยละ 75.56 การศึกษา ระดับมัธยมศึกษา ร้อยละ 40 <br>อาชีพรับจ้าง ร้อยละ 44.45 ศาสนาอิสลาม ร้อยละ 100 เป็นประเภทประชาชนทั่วไป ร้อยละ 82.23 รายได้<br>โดยเฉลี ่ย / เดือน ต่ำกว่า 10,000 บาท ร้อยละ 60 สมาชิกที ่อาศัยอยู ่ประจำในครัวเรือน จำนวน 4-6 คน <br>ร้อยละ 62.22 ช่องทางการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร ทุกคนได้รับจาก เจ้าหน้าที่สาธารณสุข อสม. และ โทรทัศน์ <br>รองลงมา คือ สื่อสังคมออนไลน์ต่างๆ ร้อยละ 46.67และไม่มีการได้รับข่าวสารจากหนังสือพิมพ์ ประวัติการ<br>ได้รับบริการในการตรวจ ATK ในช่วง1 เดือนที่ผ่านมา ไม่ได้รับการตรวจมากที่สุด ร้อยละ 57.78 ส่วนประวัติ<br>การได้รับการฉีดวัคซีน ส่วนใหญ่ได้รับ 4 เข็ม ร้อยละ 77.78 ส่วนใหญ่ไม่มีสมาชิกในบ้านเคยป่วยด้วยโรคโค<br>วิด-19 ร้อยละ 68.89 ความรู้อยู่ในระดับปานกลาง การปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง การมีส่วนร่วมกับชุมชน<br>อยู ่ในระดับดีมาก จากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ปัจจัยด้านคุณลักษณะส่วนบุคคล พบว่า ประเภทของ<br>ประชาชนมีความสัมพันธ์ทางบวก เช่นเดียวกับ ระดับความรู ้ในการป้องกันโรคโควิด-19ของประชาชนที ่มี<br>ความสัมพันธ์ทางบวกกับระดับการมีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันโรค อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ <br>0.05 และ ระดับการปฏิบัติไม่มีความสัมพันธ์กับระดับการมีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันโรคโควิด-19<br>ของประชาชน</p>
2024-12-31T00:00:00+07:00
Copyright (c) 2025
https://he03.tci-thaijo.org/index.php/scintc/article/view/3762
การพัฒนารูปแบบการดูแลผู้สูงอายุเพื่อป้องกันการพลัดตกหกล้ม
2025-01-10T16:44:50+07:00
อุฬาริน พรกระแส
Ying.rin5956@gmail.com
<p>บทคัดย่อ <br>อุฬาริน พรกระแส 1 <br>การวิจัยและพัฒนามีวัตถุประสงค์เพื ่อพัฒนาและศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการดูแลผู ้สูงอายุเพื่อ<br>ป้องกันการพลัดตกหกล้ม ดำเนินการเดือนมกราคม 2566- มีนาคม 2567 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้ที่มีอายุมากกว่า 60 <br>ปีขึ ้นไป ที่อาศัยอยู ่ในเขตพื ้นที ่รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลบ้านหนองแก่ง จำนวน 30 คน <br>ผู ้ดูแล จำนวน 30 คน ภาคีเครือข่ายจำนวน 35 คน และบุคลากรด้านสุขภาพจำนวน 2 คน ขั ้นตอนการพัฒนา<br>ประกอบด้วย 4 ขั ้นตอน ได้แก่ 1) การวิเคราะห์ปัญหาสถานการณ์เกี่ยวการพลัดตกหกล้มในผู ้สูงอายุและการดูแล<br>เพื่อป้องกันการป้องการพลัดตกหกล้มในชุมชน 2) การพัฒนารูปแบบการดูแลผู้สูงอายุเพื่อป้องกันการพลัดตกหกล้ม <br>3) การใช้รูปแบบการดูแลผู ้สูงอายุเพื่อป้องกันการพลัดตกหกล้ม 4) การประเมินประสิทธิผลของรูปแบบการดูแล<br>ผู ้สูงอายุเพื ่อป้องกันการพลัดตกหกล้ม เครื ่องมือที ่ใช้ในการดำเนินการวิจัย ได้แก่ รูปแบบการดูแลผู ้สูงอายุเพื่อ<br>ป้องกันการพลัดตกหกล้ม เครื ่องมือที ่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ผู ้สูงอายุ ผู ้ดูแลและภาคี<br>เครือข่าย แบบบันทึกข้อมูลทั่วไปของผู้สูงอายุ แบบประเมินความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม แบบประเมินการกลัว<br>การหกล้ม แบบสอบถามความรู้และแบบวัดพฤติกรรมเกี่ยวกับการป้องกันการพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุ วิเคราะห์<br>ข้อมูลโดยการหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบ Paired t-test และการวิเคราะห์<br>เชิงเนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า รูปแบบการดูแลผู้สูงอายุเพื่อป้องกันการพลัดตกหกล้ม ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ <br>1) การมีส่วนร่วมของบุคคลในครอบครัวและภาคีเครือข่าย 2) การพัฒนาศักยภาพผู ้สูงอายุ ผู ้ดูแลและอาสาสมัคร<br>สาธารณสุขประจำหมู ่บ้าน 3) การจัดโปรแกรมการออกกำลังกายสำหรับผู ้สูงอายุ 4) การสนับสนุนอุปกรณ์ช่วยใน<br>การเคลื ่อนไหว และ5) การเยี ่ยมบ้าน การประเมินประสิทธิผลของรูปแบบ พบว่า หลังการใช้รูปแบบผู ้สูงอายุมี<br>ค่าเฉลี ่ยคะแนนความเสี ่ยงต่อการพลัดตกหกล้มและความกลัวการหกล้มลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<br>value<0.05) ผู ้สูงอายุมีค่าเฉลี ่ยคะแนนความรู ้เกี ่ยวกับการป้องกันการพลัดหกล้มและพฤติกรรมเกี ่ยวกับการ<br>ป้องกันการพลัดหกล้มเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P-value<0.05) จากการติดตามหลังการใช้รูปแบบในช่วง <br>6 เดือนไม่พบการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ</p>
2024-12-31T00:00:00+07:00
Copyright (c) 2025
https://he03.tci-thaijo.org/index.php/scintc/article/view/3763
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวกับพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนพุทธชินราชพิทยา
2025-01-10T16:48:07+07:00
สุธานาถ สนแย้ม
Suthanat@gmail.com
พรกนก คงเนตร
Pornkanok@gmail.com
ธนัช กนกเทศ
thanachk@nu.ac.th
<p>บทคัดย่อ <br>การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบหาความสัมพันธ์โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์<br>กับพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนพุทธชินราชพิทยา จังหวัดพิษณุโลก <br>กลุ ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนระดับชั ้นมัธยมศึกษาตอนต้น ปีการศึกษา 2566 จำนวน 239 คน เลือกกลุ่ม<br>ตัวอย่างโดยใช้วิธีการสุ ่มแบบหลายขั ้นตอน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ซึ ่งได้รับการตรวจสอบ<br>ความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ และได้ผ่านการตรวจสอบการหาค่าความเชื่อมั่นโดยหาค่าสัมประสิทธิ์<br>สหสัมพันธ์แอลฟาครอนบาค ได้ค่าความเชื ่อมั ่นเท่ากับ 0.81-0.95 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ <br>ค่าร้อยละ ค่าเฉลี ่ย ส่วนเบี ่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ปัจจัยที ่มีความสัมพันธ์โดยใช้สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์<br>เพียร์สัน และสถิติสหสัมพันธ์แบบอีต้า <br>ผลการวิจัยพบว่า 1) พฤติกรรมการบริโภคอาหารของกลุ ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ ร้อยละ 58.57 มี<br>พฤติกรรมการบริโภคอาหารอยู ่ในระดับต่ำ รองลงมา มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารอยู ่ในระดับปานกลาง<br>ร้อยละ 41.43 2) ปัจจัยที ่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคอาหารของกลุ ่มตัวอย่างประกอบด้วย <br>ทัศนคติในพฤติกรรมการบริโภคอาหาร แรงสนับสนุนจากบุคคลใกล้ชิดและการได้รับข้อมูลข่าวสารที ่ระดับ<br>นัยสำคัญทางสถิติ 0.05</p>
2024-12-31T00:00:00+07:00
Copyright (c) 2025
https://he03.tci-thaijo.org/index.php/scintc/article/view/3767
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่วัยสูงอายุ อย่างมีคุณภาพของประชาชน ตำบลทุ่งหลวง อำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย
2025-01-12T08:59:30+07:00
เอกศิลา ปานศรี
ssokms203@gmail.com
<p>บทคัดย่อ <br>การวิจัยเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวางเพื ่อศึกษาปัจจัยที ่มีอิทธิพลต่อการเตรียมความพร้อม <br>ก่อนเข้าสู่วัยสูงอายุอย่างมีคุณภาพของประชาชน ตำบลทุ่งหลวง อำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย กลุ่มตัวอย่าง<br>ได้แก่ประชาชนที่มีอายุระหว่าง 50-59 ปี จำนวน 325 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามความรู้ <br>ใช้ค่า KR20 0.80 แบบสอบถามแรงสนับสนุนทางสังคม ทัศนติและการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู ่วัย<br>สูงอายุใช้ค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาค มีค่าความเชื่อมั่น 0.84, 0.82 และ 0.86 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ใน<br>การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี ่ย ส่วนเบี ่ยงเบนมาตรฐาน ค่ามัธยฐาน ค่าสูงสุด ค่าต่ำสุด <br>และการวิเคราะห์ถดถอยเชิงเส้นพหุคูณ ด้วยวิธีการคัดเลือกตัวแบบแบบขั้นตอน <br>ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิง ร้อยละ 68.0 มีอายุเฉลี่ย 55.01±2.49 <br>ปี มีแรงสนับสนุนทางสังคมอยู่ในระดับสูง ร้อยละ 95.1 มีความรู้อยู่ในระดับสูง ร้อยละ 100.0 มีการเตรียม <br>ความพร้อมก่อนเข้าสู่วัยสูงอายุอยู่ในระดับสูง ร้อยละ 88.9 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเตรียมความพร้อมก่อน<br>เข้าสู่วัยสูงอายุอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ คือ ความรู้เกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่วัยสูงอายุ (p < <br>0.001, β = 0.440) แรงสนับสนุนทางสังคม (p < 0.001, β = 0.402) และทัศนคติต่อการเตรียมความ<br>พร้อมก่อนเข้าสู่วัยสูงอายุ (p=0.024, β = 0.096) โดยสามารถร่วมกันทำนายการเตรียมความพร้อมก่อนเข้า<br>สู่วัยสูงอายุอย่างมีคุณภาพของประชาชน ได้ร้อยละ 45.2 การศึกษานี้ควรนำไปใช้ในการจัดโครงการอบรม<br>การเตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่วัยสูงอายุอย่างต่อเนื่อง</p>
2024-12-31T00:00:00+07:00
Copyright (c) 2025
https://he03.tci-thaijo.org/index.php/scintc/article/view/3768
ประสิทธิผลของระบบการดูแลผู้ป่วยในที่บ้านต่อความดันโลหิต พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อ ลดปริมาณเกลือโซเดียม และความร่วมมือในการใช้ยาในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถ ควบคุมได้ โรงพยาบาลบ้านตาก
2025-01-12T09:12:41+07:00
ทศพล เต้มีย์
thodsapont254@gmail.com
<p>บทคัดย่อ <br>การวิจัยเชิงปริมาณแบบสุ ่มและมีกลุ ่มควบคุมนี ้ มีวัตถุประสงค์เพื ่อเปรียบเทียบผลของระบบการ<br>ดูแลผู ้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที ่บ้านต่อระดับความดันโลหิต พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื ่อลดโซเดียม <br>และความร่วมมือในการใช้ยา กลุ ่มตัวอย่างเป็นผู ้ป่วยความดันโลหิตสูงที ่ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้ <br>จำนวน 56 คน แบ่งเป็นกลุ ่มทดลองและกลุ ่มควบคุมกลุ ่มละ 28 คน ติดตามผล 12 สัปดาห์ ผลการศึกษา<br>พบว่า ภายในกลุ ่มทดลอง หลังได้รับโปรแกรมมีคะแนนพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื ่อลดเกลือโซเดียม<br>เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P-value<0.05) และมีความร่วมมือในการใช้ยาเพิ่มขึ้น (P-value =0.03) <br>ส่วนกลุ่มควบคุมมีความร่วมมือในการใช้ยาเพิ่มขึ้นเช่นกัน (P-value =0.01) ด้านระดับความดันโลหิต พบว่า<br>ทั ้งสองกลุ ่มมีค่าความดันโลหิตซิสโตลิกและไดแอสโตลิกลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เมื ่อเปรียบเทียบ<br>ระหว่างกลุ ่ม พบว่ากลุ ่มทดลองมีความร่วมมือในการใช้ยาสูงกว่ากลุ ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<br>value <0.05) แต่ไม่พบความแตกต่างของคะแนนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และระดับความดันโลหิต<br>ระหว่างกลุ่ม</p>
2024-12-31T00:00:00+07:00
Copyright (c) 2025
https://he03.tci-thaijo.org/index.php/scintc/article/view/3769
ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลการจัดการระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่ มีภาวะพึ่งพิงของเทศบาลเมืองศรีสัชนาลัย อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย
2025-01-12T09:17:51+07:00
อัมพร พรชยากร
Amporn@gmail.com
นิพนธ์ จิตอนุกูล
Weena2011@hotmail.com
<p>บทคัดย่อ <br>การวิจัยเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวางนี ้ มีวัตถุประสงค์เพื ่อศึกษาปัจจัยที ่มีผลต่อประสิทธิผลการ<br>จัดการระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงของเทศบาลเมืองศรีสัชนาลัย <br>อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ให้บริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง<br>ในเขตเทศบาลเมืองศรีสัชนาลัย จำนวน 208 คน ใช้วิธีการสุ ่มแบบง่าย เครื ่องมือที ่ใช้ในการวิจัยเป็น<br>แบบสอบถาม วิเคราะห์ความเชื ่อมั ่นของการจัดการระบบการดูแลระยะยาว และประสิทธิผลการจัดการ<br>ระบบการดูแลระยะยาวสำหรับผู ้สูงอายุที ่มีภาวะพึ่งพิง ใช้ค่าสัมประสิทธิ ์อัลฟาของครอนบาค มีค่าความ<br>เชื ่อมั ่น 0.78 และ 0.80 ตามลำดับ สถิติที ่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี ่ย ส่วน<br>เบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่ามัธยฐาน ค่าสูงสุด ค่าต่ำสุด และการวิเคราะห์ถดถอยเชิงเส้นพหุคูณแบบขั้นตอน <br>ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลการจัดการระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุข<br>สำหรับผู ้สูงอายุที ่มีภาวะพึ ่งพิงคือ การดูแลและช่วยเหลือทางการแพทย์ (p-value =0.009, β = 0.286) <br>นโยบายภาครัฐ(p-value=0.042, β = 0.236) และการมีส่วนร่วมของชุมชน (p-value =0.045, β = <br>0.220) โดยสามารถร่วมกันทำนายได้ร้อยละ 17.7 ผลการศึกษาครั้งนี้สามารถนำข้อมูลไปใช้ในการส่งเสริม<br>ประสิทธิผลการจัดการระบบการดูแลระยะยาวของผู ้สูงอายุที ่มีภาวะพึ ่งพิงให้มีประสิทธิภาพและเป็นระบบ<br>มากยิ่งขึ้น</p>
2024-12-31T00:00:00+07:00
Copyright (c) 2025
https://he03.tci-thaijo.org/index.php/scintc/article/view/3770
ปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลต่อความเสี่ยงภาวะสมาธิสั้นของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น กรณีศึกษาโรงเรียนแห่งหนึ่งในภาคเหนือตอนล่าง
2025-01-12T09:23:28+07:00
กนกพร อิ่มขวัญ
Kanokphon@gmail.com
ชลดา ด้วงบ้านยาง
Chonlada@gmail.com
ธนัช กนกเทศ
thanachk@nu.ac.th
<p>บทคัดย่อ <br>การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความเสี่ยงภาวะสมาธิ<br>สั ้นนักเรียนชั ้นมัธยมศึกษาตอนต้น ตามความรับรู ้ของผู ้ปกครอง โดยทำการศึกษาในกลุ ่มตัวอย่างจาก<br>ผู้ปกครองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นของโรงเรียนพุทธชินราชพิทยา จำนวน 382 คน เครื่องมือที่ใช้<br>ในการเก็บข้อมูลการวิจัยครั ้งนี ้ คือ แบบสอบถามเกี ่ยวกับปัจจัยที ่ส่งผลต่อภาวะสมาธิสั ้นของนักเรียน<br>มัธยมศึกษาตอนต้น ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื ้อหา (Content Validity) ได้ค่า IOC= 0.89 และ<br>ตรวจสอบค่าความเชื ่อมั ่น ( Reliability) ด้วยค่า Kuder-Richardson 20 (KR-20) และ Cronbrach's <br>AIpha Coefficient อยู่ระหว่าง 0.81-0.93 วิเคราะห์ข้อมูลด้วย ค่าแจกจางความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าสูงสุด<br>ค่าต่ำสุด ส่วนเบี ่ยงเบนมาตรฐานและ ใช้วิเคราะห์หาความสัมพันธ์ (Pearson product-moment <br>correlation coefficient) และ Eta (Eta Correlation Coefficient) <br>ผลการวิจัยพบว่า 1) กลุ ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความเสี ่ยงภาวะสมาธิสั ้น ในระดับต่ำ ร้อยละ 65.70 <br>และรองลงมา ระดับปานกลาง ร้อยละ 34.30 2) ตัวแปรที ่มีความสัมพันธ์ต่อภาวะสมาธิสั ้นของนักเรียน<br>มัธยมศึกษาตอนต้น ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคล ประกอบด้วย เพศ อาชีพ การอาศัยอยู่กับบุคคล ระยะเวลาการ<br>ใช้สื่อ ปัจจัยด้านครอบครัว ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม มีความสัมพันธ์ต่อภาวะสมาธิสั้นของนักเรียนมัธยมศึกษา<br>ตอนต้น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05</p>
2024-12-31T00:00:00+07:00
Copyright (c) 2025