การเกิดสภาวะลื่นไหลของนักกีฬากอล์ฟอาชีพชาวไทย

Main Article Content

กานต์ จิตต์แจ้ง
กานต์ จิตต์แจ้ง
ฉัตรกมล สิงห์น้อย
ชมพูนุท ศรีจันทร์นิล

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้รายงานการเกิดสภาวะลื่นไหลในนักกีฬากอล์ฟอาชีพชาวไทย โดยใช้วิธีการเก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกกับนักกีฬากอล์ฟอาชีพชาวไทย จำนวน 10 คน เป็นเพศชายจำนวน 4 คน และเพศหญิงจำนวน 6 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยระเบียบวิจัยเชิงคุณภาพ การวิเคราะห์แก่นสาระเชิงสะท้อน (Reflexive Thematic Analysis; RTA) ผลวิจัยพบว่าการเกิดขึ้นของสภาวะลื่นไหลในนักกีฬากอล์ฟอาชีพไทย ประกอบด้วยแก่นสาระหลัก ได้แก่ 1) ความสามารถในการกำกับอารมณ์และความคิดและ 2) การมีเป้าหมายและความมั่นใจ ผลการวิจัยแสดงให้เห็นถึงปัจจัยที่ทาให้เกิดสภาวะลื่นไหลประกอบด้วย การตระหนักรู้ในอารมณ์และความคิด การจัดการความคิดเชิงลบ การปล่อยวางความคาดหวังในผลลัพธ์ การตั้งเป้าหมายที่ท้าทายและพอเหมาะกับความสามารถ การบรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ คำพูดเชิงบวกของผู้อื่น และการฝึกฝนทักษะให้มีความชำนาญ มีส่วนต่อการเกิดสภาวะลื่นไหลทั้งสิ้น องค์ความรู้ที่เกิดจากงานวิจัยนี้จะเป็นแนวทางหนึ่งที่สำคัญต่อการพัฒนาศักยภาพของนักกีฬากอล์ฟชาวไทยและนักกีฬาประเภทอื่น ๆ ให้มีความสามารถในการแข่งขันในระดับชาติ โดยนาองค์ความรู้นี้ไปสร้างรูปแบบการฝึกฝนและประยุกต์ใช้กับการนำไปปฏิบัติใช้กับสถานการณ์การแข่งขันจริงเพื่อให้นักกีฬาสามารถแสดงความสามารถสูงสุดของตนได้อย่างเต็มที่

Article Details

How to Cite
จิตต์แจ้ง ก., จิตต์แจ้ง ก., สิงห์น้อย ฉ., & ศรีจันทร์นิล ช. (2022). การเกิดสภาวะลื่นไหลของนักกีฬากอล์ฟอาชีพชาวไทย. วารสารคณะพลศึกษา, 25(2), 1–12. สืบค้น จาก https://he03.tci-thaijo.org/index.php/peswuJ/article/view/931
บท
บทความวิจัย

References

Boonveerabutr, S. (1998). Sport Psychology. Chonburi: Thailand National Sport University.

Braun, V. & Clarke, V. (2006). Using thematic analysis in psychology. Qualitative Research in Psychology, 3, 77-

Catley, D. & Duda, J. (1997). Psychological antecedents of the frequency and intensity of flow in golfers. International

Journal of Sport Psychology, 28, 309-322.

Chavez, E. (2008). Flow in sport: A study of college athletes. Imagination, Cognition and Personality, 28, 69-91.

Csikszentmihalyi, M. (1975). Beyond boredom and anxiety. San Francisco: Jossey-Bass.

Csikszentmihalyi, M. (1990). Flow: The psychology of optimal experience. New York: Harper & Row.

Deci, E., & Ryan, R. (1985). Intrinsic motivation and self-determination in human behavior. New York, NY: Plenum

Press.

Jackson, S. A. (1995). Factors influencing the occurrence of flow state in elite athletes. Journal of Applied Sport

Psychology, 7, 138-166.

Jackson, S. A., & Csikszentmihalyi, M. (1999). Flow in sports: The keys to optimal experiences and performances.

Champaign: IL: Human Kinetics.

Jackman, P. C., Swann, C., & Crust, L. (2016). Exploring athletes' perceptions of the relationship between mental

toughness and dispositional flow in sport. Psychology of Sport and Exercise, 27, 56-65.

Kwanboonjan, S. (1998). Sports psychology. Bangkok: Srinakharinwirot university.

Panuthai, S. (2013). Sport psychology. (1st edition). Bangkok: Department of Physical Education, Ministry of Tourism

and Sports

Srichannil, C. (2017). Interpretative Phenomenological Analysis: A Qualitative Methodology for Psychological Research.

Journal of Education, 28(3), 1-13.

Srichannil, C. (2020). Research Paradigms and Philosophy of Science. (Slide PowerPoint).

Swann, C., Crust, L., Keegan, R., Piggott, D., & Hemmings, B. (2014). An inductive exploration into the flow experiences

of European Tour golfers. Qualitative Research in Sport, Exercise and Health, 7(2), 210-234.

Swann, C., Crust, L., Vella, S. A. (2017). New directions in the psychology of optimal performance in sport: flow and

clutch states. Current Opinion in Psychology, 16, 48-53.

Swann, C., Piggott, D., Schweickle, M., & Vella, S. A. (2018). A Review of Scientific Progress in Flow in Sport and

Exercise: Normal Science, Crisis, and a Progressive Shift. Journal of Applied Sport Psychology, 30(3), 249-