ผลของการฝึกด้วยฟิตบอลที่มีต่อองค์ประกอบร่างกายและสมรรถภาพการใช้ออกซิเจนสูงสุด ในผู้หญิงวัยกลางคนที่มีภาวะน้ำหนักเกิน

Main Article Content

อรัญญา บุทธิจักร์
ศราวุฒิ โภคา
เชาวนันท์ ทะนอก
สมภพ โสพัฒน์
ดิศพล บุปผาชาติ
ไชยวัฒน์ นามบุญลือ
ไชยวัฒน์ นามบุญลือ

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบผลของการฝึกด้วยฟิตบอลที่มีต่อองค์ประกอบร่างกายและสมรรถภาพการใช้ออกซิเจนสูงสุดในผูห้ ญิงวัยกลางคนที่มีภาวะน้าหนักเกิน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้หญิงวัยกลางคน อายุระหว่าง40-50 ปี ที่มีค่าดัชนีมวลกาย (≥25 กก./ตร.ม.) จานวน 26 คน เป็นบุคลากรในสังกัดของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ทำการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มทดลอง จำนวน 13 คน (เข้าร่วมการฝึกด้วยฟิตบอล 3 วัน/สัปดาห์ ทุกวันจันทร์ พุธ และศุกร์ ครั้งละ 60 นาที) และกลุ่มควบคุม จำนวน 13 คน (ไม่ได้รับการฝึกฟิตบอลดำเนินกิจกรรมตามปกติ) ระยะเวลาในการฝึก 6 สัปดาห์ ทาการทดสอบองค์ประกอบของร่างกายและทดสอบสมรรถภาพการใช้ออกซิเจนสูงสุดทำการทดสอบก่อนการทดลองและหลังการทดลองสัปดาห์ที่ 6 วิเคราะห์เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของตัวแปรระหว่างก่อนการทดลองและหลังการทดลองภายในกลุ่มโดยทดสอบค่าทีแบบรายคู่ (Paired t-test) และวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของตัวแปรระหว่างกลุ่มด้วยการทดสอบค่าทีแบบอิสระ (Independent t-test) ระดับความมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05


ผลการวิจัย พบว่า หลังการฝึก 6 สัปดาห์


1) กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยด้านองค์ประกอบร่างกาย ได้แก่ น้ำหนักตัว ดัชนีมวลกาย และมวลไขมัน มีการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น


(-0.92%, -1.34% และ -1.43% ตามลาดับ, p < .05) เมื่อเปรียบเทียบกับก่อนการทดลอง นอกจากนี้ค่าเฉลี่ยน้ำหนักตัวมีการเปลี่ยนแปลงที่ลดลงในกลุ่มทดลอง (-0.92%) เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม (-0.12%, p < .05) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05


2) สมรรถภาพการใช้ออกซิเจนสูงสุดมีการเปลี่ยนแปลงที่เพิ่มขึ้นในกลุ่มทดลอง (9.79%) เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม (0.15%, p < .05) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05


สรุปผลการวิจัย การฝึกออกกาลังกายด้วยฟิตบอล 6 สัปดาห์ มีประสิทธิภาพในการพัฒนาองค์ประกอบของร่างกายและสมรรถภาพการใช้ออกซิเจนสูงสุดในผู้หญิงวัยกลางคนที่มีภาวะน้ำหนักเกินได้

Article Details

How to Cite
บุทธิจักร์ อ., โภคา . ศ., ทะนอก . เ., โสพัฒน์ ส., บุปผาชาติ ด. ., นามบุญลือ . ไ. ., & นามบุญลือ . ไ. (2022). ผลของการฝึกด้วยฟิตบอลที่มีต่อองค์ประกอบร่างกายและสมรรถภาพการใช้ออกซิเจนสูงสุด ในผู้หญิงวัยกลางคนที่มีภาวะน้ำหนักเกิน. วารสารคณะพลศึกษา, 25(2), 23–34. สืบค้น จาก https://he03.tci-thaijo.org/index.php/peswuJ/article/view/933
บท
บทความวิจัย

References

Amin, D. J., & Goodman, M. (2014). The effects of selected asanas in Iyengar yoga on flexibility: Pilot study. Journal of

Bodywork and Movement Therapies, 18(3), 399–404.

Ayudthaya, N. W. & Kritpet, T. (2015). Effects of Low Impact Aerobic Dance and Fitball Training on Bone Resorption

and Health-Related Physical Fitness in Thai Working Women. Journal of the Medical Association of Thailand,

(8), S52-S57.

Badwal, K. K., & Singh, R. (2013). Effect of Short-Term Swiss Ball Training on Physical Fitness. Biology of Exercise,

(2), 41–50.

Buttichak, A. (2018). Effects of training Program with fit ball on body mass index, waist hip ratio, muscle mass and

percent body fat in obese women. Journal of Education Studies, 46(4), 461-479.

Buttichak, A., Leelayuwat, N., Bumrerraj, S., & Boonprakob, Y. (2019). The effects of a yoga training program with fit

ball on the physical fitness and body composition of overweight or obese women. Asia-Pacific Journal of Science

and Technology, 24(02), 1–11.

Howley, E. T. (2001). Type of activity: Resistance, aerobic and leisure versus occupational physical activity: Medicine

and Science in Sports and Exercise, 33(Supplement), S364–S369.

Khumprommarach, S., & Kritpet, T. (2011). Effects of minifitball exercise program on health-related physical fitness and

quality of life in working women. Journal of Sport Science and Health, 12(3), 122-133.

Ogden, C. L., Carroll, M. D., Kit, B. K., & Flegal, K. M. (2012). Prevalence of Obesity and Trends in Body Mass Index

Among US Children and Adolescents, 1999-2010. JAMA, 307(5), 483.

Shiraishi, J. C., & Bezerra, L. M. A. (2016). Effects of yoga practice on muscular endurance in young women.

Complementary Therapies in Clinical Practice, 22, 69–73.

Panitchareonnam, S. (2002). Aerobic Dance. Faculty of Physical Education, Srinakharinwirot University, Bangkok.

Pudcharakuntana, P, Khungtumneam, K., & Durongritichtichai, V. (2015). The factors asociated to the prevalence of

obesity in adults in bang Sao thong municipality, samuth prakan province. Journal of The Royal Thai Army

Nurses, 16(2),131-139.

Shiraishi, J. C., & Bezerra, L. M. (2 0 1 6 ) . Effects of yoga practice on muscular endurance in young women.

Complementary Therapies in Clinical Practice, 22(02), 69-73.

Singh, A., Singh, S., & Gaurav, V. (2011). Effects of 6-Weeks Yogasanas Training on Agility and Muscular Strength in

Sportsmen. International Journal of educational research and technology, 2(2), 71-74.

Singh, T., Singh, A., & Kumar, S. (2015). Effects of 8-week of Yoga training on muscular strength, muscular endurance,

flexibility and agility of female Hockey players. International journal of social science & management, 5(7), 97-101.

Tanamsingha, G. (2011). Effects of group exercise with walking-running on health-related physical fitness in overweight

female youths. (Master's thesis). Chulalongkorn university, Bangkok.

Tan, S., Wang, X., & Wang, J. (2012). Effects of supervised exercise training at the intensity of maximal fat oxidation in

overweight young women. Journal of Exercise Science & Fitness, 10(2), 64–69.

Voulgari, C., Pagoni, S., Vinik, A., & Poirier, P. (2013). Exercise improves cardiac autonomic function in obesity and

diabetes. Metabolism, 62(5), 609–621.