Effects of a Program to Provide Knowledge and Promote Behavior Taking Care for Foot Wounds among Diabetic Patients, Female Surgery ward 1, Sakon Nakhon Hospital
ผลของโปรแกรมการให้ความรู้และส่งเสริมพฤติกรรมการดูแลเท้าในผู้ป่วยที่มีแผลเบาหวานที่เท้า หอผู้ป่วยศัลยกรรมหญิง 1 โรงพยาบาลสกลนคร
Keywords:
Educational Program, Foot Care Behavior Promotion, Patients with diabetes mellitus, Female Surgical Ward 1 Sakon Nakhon HospitalAbstract
This quasi-experimental, one group pretest-posttest research design, aimed to study the effectsprovide knowledge and promote behavior taking care for foot wounds among diabetic patients, Female Surgery ward 1, Sakon Nakhon Hospital . The participants were 35 patients with diabetic foot ulcers, who received an eight-week diabetic foot care program between March 2024 to June 2024. Data were collected using 1) program to provide knowledge and promote behavior taking care for foot wounds among diabetic patients 2) Questionnaires assessing diabetic knowledge with 15-items and foot self-care behaviors for patients with diabetic foot ulcers 3) Diabetic foot and foot self-care exam record, 10 chair stretches record, and telephone follow-up record. Data were analyzed using descriptive statistics and dependent t-test.
The study results showed that the experimental group had a moderate average score on diabetes knowledge before receiving the program (SD = 1.24), which increased to a high average score after the program (SD = 0.77), with a statistically significant difference (p < 0.001). Regarding foot care behavior, after receiving the foot care promotion program for diabetic patients with foot ulcers, the average score was significantly higher than before receiving the program (p < 0.001).
The result of this study suggested that the program could be applied with diabetic patients as well as family members in order to gain foot care knowledge and promote healthy foot self-care behaviors for foot wound protection and disability prevention.
References
สมาพันธ์เบาหวานนานาชาติ (IDF: International Diabetes Federation ). สถานการณ์โรคเบาหวานปี 2560. 2560 [เข้าถึงเมื่อ 5 ตุลาคม 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://www.hfocus.org/content/2019/11/18054.
กระทรวงสาธารณสุข สำนักโรคไม่ติดต่อ. รายงานประจำปี 2562. 2562. [เข้าถึงเมื่อ 5 ตุลาคม 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://ddc.moph.go.th/uploads/publish/1035820201005073556.pdf.
สุมาลี เชื้อพันธ์. ผลของโปรแกรมการดูแลเท้าแบบบูรณาการต่อพฤติกรรมดูแลเท้าสภาวะเท้าและระดับ HbA1c ของผู้ป่วยเบาหวานความเสี่ยงสูงต่อการเกิดแผลที่เท้า. วารสารสภาการพยาบาล. 2559; 31: 111-123.
เวชระเบียน หอผู้ป่วยศัลยกรรมหญิง 1 โรงพยาบาลสกลนคร. สรุปผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2564-2566. โรงพยาบาลสกลนคร; 2566.
อุไรวรรณ นนท์ปัญญา, แสงทอง ธีระทองคำ, จิราพร ไลนิงเกอร์. ผลของโปรแกรมเสริมสร้าง สมรรถนะ แห่งตนในการดูแลเท้าต่อพฤติกรรมการดูแลเท้าและการสูญเสียความรู้สึกที่เท้าในผู้ที่เป็น เบาหวานชนิดที่ 2. วารสารการปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์ไทย. 2563; 76-91.
ธนาภรณ์ สาลี,เบญจา มุกตพันธุ์, พิษณุ อุตตมะเวทิน. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลเท้าของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2. วารสารโรงพยาบาลสกลนคร. 2561; 21: 87-98.
สิริอร ข้อยุ่ย. คุณภาพชีวิตของผู้ป่วย โรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มีแผลเบาหวานเรื้อรังที่เข้ารับการ รักษาที่หอผู้ป่วยศัลยกรรม โรงพยาบาลอุดรธานี. วารสารการพยาบาลสุขภาพและการศึกษา. 2562; 2: 12-21.
อโนทัย ผลิตนนท์เกียรติ. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดแผลที่เท้าของผู้ป่วยเบาหวานในโรงพยาบาลของเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ. วารสารวิชาการสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย. 2560; 6: 56-67.
ต้องจิตร เอี่ยมสมบูรณ์และคณะ. ผลของโปรแกรมส่งเสริมพฤติกรรมการดูแลเท้าและแผลที่เท้าด้วยตนเองของผู้ป่วยเบาหวานโรงพยาบาลกระทุ่มแบนจังหวัดสมุทรสาคร. วารสารสาธารณสุขศาสตร์. 2560; 47: 289-300.
สุปรียา เสียงดัง. พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้. 2560; 4: 191-204.
กรวรรณ ผมทอง, เขมารดี มาสิงบุญ, วัลภา คุณทรงเกียรติ. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม การดูแลเท้าของผู้ป่วยเบาหวานกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดแผลที่เท้า. 2562. { 5 ตุลาคม 2566}. เข้าถึงได้จาก https://nurse.buu.ac.th/rsh/file/journal/0000001102.pdf
กมลวรรณ วงวาส, ศากุล ช่างไม้และ วีนัส ลีฬหกุล. ผลของโปรแกรมลดความเสี่ยงต่อการเกิดแผลที่เท้าของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2. วารสารโรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์. 2562; 15: 34-45.
Pender.N.J. Health promotion in nursing practice. Stanford: Appleton & Lange; 1996.
นอเดีย รอนิง. ผลของโปรแกรมส่งเสริมความสามารถในการดูแลตนเองต่อพฤติกรรมการดูแลเท้าสุขภาพเท้าและระดับน้ำตาลในเลือดในผู้สูงอายุมุสลิมโรคเบาหวานที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด. 2562. [10 ตุลาคม 2566] เข้าถึงได้จาก https://www.nur.psu.ac.th/researchdb/file_ warasarn/15408journal2.pdf
กมลพรรณ จักรแก้ว. การดูแลตนเองของผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคเบาหวานตำบลวงเหนืออำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่. 2561. [5 ตุลาคม 2566] เข้าถึงได้จากhttp://www.cmruir.cmru.ac.th/bitstream/123456789/1901/1/กมลพรรณ.pdf
Bloom, Benjamin S. Handbook on Formative and Summative Evaluation of Student Leaning. New York: McGraw-Hill; 1957.
อนุชา คำไสวและคณะ. ผลของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพในผู้ป่วยโรคเบาหวานต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วยเบาหวาน ตำบลสงเปลือย อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์. วารสารวิชาการแพรวากาฬสินธุ์. 2560; 4: 316-328.
Best, J.W.. Research in Education. New Jersey: Prentice-Hall; 1981.
สำรวย กัลยณีและศศิวรรณ ทัศนเอี่ยม. ผลของการประยุกต์ใช้หลัก 3 อ.2 ส.ร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคมเพื่อลดความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของประชาชนกลุ่มเสี่ยงรายใหม่. วารสารราชฟฤกษ์. 2562; 17: 95-104.
ทัศพร ชูศักดิ์, เนตรนภา สาสังข์, และสายสมร เฉลยกิตติ. ผลการใช้โปรแกรมการดูแลเท้าเพื่อป้องกันการถูกตัดขาของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ตำบลสำโรงชัย อำเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์. เวชสารแพทย์ทหารบก. 2561; 71: 105-112.