Development of Health Knowledge Promotion Model to Newborn Low Weight Infants for Pregnant Women Receiving Antenatal Care Services at Don Tan Hospital, Don Tan District, Mukdahan Province
การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความรู้ด้านสุขภาพเพื่อป้องกันทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยแก่หญิงตั้งครรภ์ที่มารับบริการฝากครรภ์ โรงพยาบาลดอนตาล อำเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร
Keywords:
Health Knowledge Promotion Model, Newborn Low Weight, Pregnant Women, Health KnowledgeAbstract
This research and development aimed to 1) study the situation of low birth weight infants, 2) develop a model for promoting health literacy to prevent low birth weight infants for pregnant women receiving antenatal care, 3) study the level of various factors and factors related to the birth weight of pregnant women receiving antenatal care and 4) evaluate the model for promoting health literacy to prevent low birth weight infants for pregnant women receiving antenatal care. Which was developed as conducted 3 phases of research: 1) study the situation of low-birth-weight infants at Don Tan Hospital, 2) develop the model and 3) study and evaluate the model. The researcher collected data using a questionnaire from 40 pregnant women receiving antenatal care at Don Tan Hospital in fiscal year 2024. The results of the research found that most pregnant women had an average age of 20-30 years, which was the health insurance card and pregnant women gave birth to babies with normal infant weight, accounting for 100.00%. Their knowledge after receiving the development was significantly higher than their knowledge before receiving the development (p < 0.01). Their attitudes toward pregnancy and antenatal care, their social support from the community and society and their self-care behavior during pregnancy were at a high level. The factor of knowledge about pregnancy and antenatal care, attitudes toward pregnancy and antenatal care, their social support from the community and family, and their self-care behavior during pregnancy. They were related to the weight of the newborn with a correlation coefficient of r = 0.855, 0.238, 0.436 and 0.587 (p < 0.05, 0.01). Such factors have a low to high correlation. Therefore, this model of research and development. It is suitable for use only in the local context.
References
ดาราวรรณ มณีกุลทรัพย์ และอมรศักดิ์ โพธิ์อ่ำ. ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ด้านสุขภาพกับพฤติกรรมการดูแลตนเองของหญิงตั้งครรภ์เขตอำเภอนาแก จังหวัดนครพนม. วารสารสาธารณสุขและวิทยาศาสตร์สุขภาพ. 2560; 3: 1-12.
กรมควบคุมโรค. คู่มือกระบวนการการสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ. กรุงเทพฯ: บริษัท อาร์ เอ็น พี พี วอเทอร์ จำกัด. 2564.
โรงพยาบาลดอนตาล. สถิติหญิงตั้งครรภ์ ข้อมูลปี 2566. มุกดาหาร: โรงพยาบาลดอนตาล. 2565.
ดาราวรรณ อมรศักดิ์. การศึกษาความมีมนุษยสัมพันธ์ในการปฏิบัติงานของพนักงานระดับปฏิบัติการ กรณีศึกษา : โรงแรมบันยันทรี กรุงเทพ. กรุงเทพมหานคร: 2560: มหาวิทยาลัยนเรศวร; 2560.
สุนันทา ขวัญใจ. แบบจำลองการยอมรับเทคโนโลยี. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี; 2566.
จิราจันทร์ คณฑา. การรับรู้เกี่ยวกับการคลอดก่อนกำหนดและพฤติกรรมการป้องกันการคลอดก่อนกำหนดของหญิงตั้งครรภ์. ราชาวดีสาร วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีสุรินทร์. 2561; 8: 1-12.
Duval, S. & Wicklund, R. A.. A theory of objective self awareness. New York: Academic Press; 1972.
โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนแพทย์สร้างเสริมสุขภาพในแบบรามาธิบดี. กรุงเทพฯ: โรงพยาบาลรามาธิบดี; 2552.
ปาริชาติ วลัยเสถียร และคณะ. กระบวนการและเทคนิคการทำงานของนักพัฒนา. กรุงเทพฯ: อุษาการพิมพ; 2543.
ปิยะพร กองเงิน และคณะ. ผลของโปรแกรมเสริมสร้างพลังอำนาจแก่สตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงในการคลอดก่อนกำหนดและสามีต่อพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ จำนวนของการคลอดก่อนกำหนด และทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย. วารสารสภาการพยาบาล. 2559; 31: 67-82.
นภาพร บุญมา. การพัฒนาคุณภาพการให้บริการอนามัยมารดาเพื่อลดอัตราทารกแรกเกิดน้ำหนัก<2,500 กรัม. ประชุมวิชาการสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 2 ปีงบประมาณ 2566. 2566: 1-3.