พฤติกรรมสุขภาพเพื่อป้องกันการกลับเป็นซ้ำของผู้รอดชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมอง

ผู้แต่ง

  • กันยารัตน์ วิริยานนท์เกษม อาจารย์ประจำ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยคริสเตียน
  • อรพิชา เกตุพันธ์ อาจารย์ประจำหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยคริสเตียน
  • ธีรนันท์ วรรณศิริ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อาจารย์ประจำหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยคริสเตียน

คำสำคัญ:

ผู้รอดชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมอง, การกลับเป็นโรคหลอดเลือดสมองซ้ำ, พฤติกรรมการป้องกันการกลับเป็นซ้ำ

บทคัดย่อ

โรคหลอดเลือดสมองเป็นโรคเจ็บป่วยเรื้อรังที่ส่งผลกระทบต่อผู้ป่วยทั้งด้านร่างกายและจิตใจ ซึ่งด้านร่างกายนั้น ส่งผลให้ความสามารถในการดูแลตนเองของผู้ป่วยลดลง ไม่สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ด้วยตนเอง ต้องได้รับการฟื้นฟูบำบัดที่ยาวนาน ทั้งนี้โรคหลอดเลือดสมองยังส่งผลต่อภาพลักษณ์ หน้าที่การงาน วิถีชีวิต หากผู้ป่วยไม่สามารถปรับตัวกับการเจ็บป่วยเรื้อรังนี้ได้ ก็อาจส่งผลกระทบด้านจิตใจ เกิดภาวะเครียดสะสม จนนำไปสู่ภาวะซึมเศร้าได้ ผู้ป่วยต้องเปลี่ยนผ่านจากผู้ที่มีสุขภาวะ กลายเป็นผู้ป่วยที่มีโรคเรื้อรัง และผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองแล้วนั้นมีโอกาสกลับเป็นซ้ำได้ ซึ่งการกลับเป็นโรคหลอดเลือดสมองซ้ำนั้น ส่งผลกระทบที่รุนแรงเพิ่มมากขึ้น บางรายอาจถึงแก่ชีวิต หรือผู้ที่รอดชีวิตบางรายก็เป็นผู้ที่มีความพิการหลงเหลือ ดังนั้นเพื่อป้องกันการกลับเป็นโรคหลอดเลือดสมองซ้ำ การปรับพฤติกรรมของผู้ป่วยด้วยตัวผู้ป่วยเองนั้นเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุด การเตรียมตัวที่ดี การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อการป้องกันการกลับเป็นซ้ำ จึงเป็นสิ่งที่ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองควรปฏิบัติ

References

กระทรวงสาธารณสุข กรมควบคุมโรค กองโรคไม่ติดต่อ. (2562). จำนวนและอัตราตายด้วยโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บประจำปี ปฏิทิน พ.ศ. 2562. http://www.thaincd.com/2016/mission/documents-detail.php?id=13893&tid=32&gid=1-020.

กระทรวงสาธารณสุข กรมควบคุมโรค กองโรคไม่ติดต่อ. (2564). จำนวนและอัตราตายด้วยโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บประจำปี ปฏิทิน พ.ศ. 2564. http://www.thaincd.com/2016/mission/documents-detail.php?id=14480&tid=32&gid=1-020.

กองยุทธศาสตร์และแผนงาน. (2560). สถิติสาธารณสุข พ.ศ.2559. สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข, กระทรวงสาธารณสุข.

จารุวรรณ ปิยหิรัญ. (2561). ผลของโปรแกรมการสร้างเสริมสมรรถนะแห่งตนของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง. วารสาร มฉก. วิชาการ, 22(43-44), 130-142.

จิรบูรณ์ โตสงวน, สุชัญญา อังกุลานนท์, หทัยชนก สุมาลี, และกนิษฐา บุญธรรมเจริญ. (2555). ความสัมพันธ์และความเสี่ยงสัมพัทธ์ของการเกิดโรคหลอดเลือดสมองและหัวใจจากการสูบบุหรี่: การศึกษาทบทวนอย่างเป็นระบบและการวิเคราะห์เชิงอนุมาน. วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข, 6(2), 248-259.

จิราวรรณ วิริยะกิจไพบูลย์ และชนกพร จิตปัญญา. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ การรับรู้ประโยชน์ภาวะซึมเศร้า การสนับสนุนทางสังคม และการป้องกันการกลับเป็นซ้ำของโรคในผู้ที่รอดชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมอง. วารสารพยาบาลตำรวจ, 8(2), 34-44.

จุฑาทิพย์ เทพสุวรรณ์, วีนัส ลีฬหกุล, และทิพา ต่อสกุลแก้ว. (2561). ผลของโปรแกรมป้องกันการกลับเป็นซ้ำสำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่โรงพยาบาลระดับตติยภูมิแห่งหนึ่ง ในจังหวัดนครปฐม. วารสารโรคหลอดเลือดสมองไทย, 17(1), 5-18.

ณฐกร นิลเนตร, ชนัญญา จิระพรกุล, และเนาวรัตน์ มณีนิล. (2559). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคหลอดเลือดสมองของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงในพื้นที่จังหวัดบึงกาฬ. วารสารสุขศึกษา, 41(1), 62-75.

ณัฐวุฒิ บุญสนธิ, ประทุม สร้อยวงค์, และจิราภรณ์ เตชะอุดมเดช. (2563). ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพของผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดมาเลี้ยงชั่วคราว. พยาบาลสาร, 47(2), 262-273.

ฐัชสรัญทิพย์ ศิระดิษฐกุล, อลิสา นิติธรรม, วีนัส วัฒนธำรงค์, ณัฐกฤตา ศิริโสภณ, และเอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์. (2565). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันการกลับเป็นซ้ำของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง. วารสารพยาบาลทหารบก, 23(2), 188-198.

ธารินทร์ คุณยศยิ่ง, ลินจง โปธิบาล, และทศพร คำผลศิริ. (2558). การพึ่งพาของผู้สูงอายุที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองภาระการดูแล การสนับสนุนทางสังคม และคุณภาพชีวิตของผู้ดูแลวัยสูงอายุ. พยาบาลสาร, 42, 107-117.

ปทิตตา ทรวงโพธิ์. (2560). การป้องกันโรคหลอดเลือดสมองกลับเป็นซ้ำในผู้สูงอายุ. วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 13(2), 56-67.

พัฒนา เศรษฐวัชราวนิช, เสน่ห์ คล้ายบัว, ณิชมน หลำรอด, และวดีรัตน์ ศรีวงศ์วรรณ. (2563). การเสริมสร้างพลังอำนาจในผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนเพื่อการป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง. วารสารพยาบาลสภากาชาด, 13(2), 86-97.

วาสนา เหมือนมี. (2557). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก. วารสารการพยาบาลและสุขภาพ, 9(2), 156-165.

วิยะดา แสงศรี, ปิยะฉัตร ลีวานันท์, และนุชจรี นักไร. (2558). โรคหลอดเลือดแดงคาโรติดตีบตัน (Carotid stenosis) และการพยาบาลผู้ป่วยที่ทำการรักษาด้วยการใส่ขดลวดถ่างขยาย (Carotidstent). เวชบันทึกศิริราช, 8(2), 89-97.

สถานบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ. (2564). โรคหลอดเลือดสมอง (Stroke) ความรู้สำหรับผู้ปฏิบัติการด้านการแพทย์ฉุกเฉิน (พิมพ์ครั้งที่ 1). อัลทิเมทพริ้นติ้ง.

สถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. (2559). แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (พิมพ์ครั้งที่ 3). ธนาเพรส.

สถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. (2562). คู่มือโรคหลอดเลือดสมอง (อัมพาต อัมพฤกษ์) สำหรับประชาชน (พิมพ์ครั้งที่ 9). สถาบันประสาทวิทยา 2560.

สายสุนีย์ เจริญศิลป์. (2564). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง อำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์. ส.ม. http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/ handle/123456789/2833

สุจิตรา คุ้มสะอาด, วีณา เที่ยงธรรม, และเพลินพิศ สุวรรณอำไพ. (2560). ปัจจัยด้านพฤติกรรมที่มีความสัมพันธ์กับ การกลับมาเป็นซ้ำของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง. วารสารพยาบาลสาธารณสุข, 31(ฉบับพิเศษ), 13-26.

อรอุมา คงแก้ว. (2561). การรับรู้การเจ็บป่วย และพฤติกรรมการป้องกันการกลับเป็นซ้ำในผู้สูงอายุโรคหลอดเลือด สมอง. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

American Heart Association. (2017). Heart disease and stroke statistics 2017 update: A report from the American heart association. https://www.ahajournals.org/doi/epub/10.1161/CIR.0000000000000485.

American Heart Association. (2019). Guidelines for the Early Management of Patients With Acute Ischemic Stroke: 2019 Update to the 2018 Guidelines for the Early Management of Acute Ischemic Stroke: A Guideline for Healthcare Professionals From the American Heart Association/American Stroke Association. Retrieved From https://www.ahajournals.org/doi/epub/10.1161/STR.0000000000000211.

Araya, C., Charin, S., & Yupha, W. (2023). Lifestyle, clinical, and occupational risk factors of recurrent stroke among the working-age group: A systematic review and meta-analysis. Heliyon, 9, 1-11. DOI: https://doi.org/10.1016/j.heliyon.

Beilei, L., Zhenxiang, Z., Yongxia, M., Chongjian, W., Hui, X., Lamei, L., & Wenna, W. (2021). Cumulative risk of stroke recurrence over the last 10 years: a systematic review and meta-analysis. Neurological Sciences, 4(2), 61-71. DOI: 10.1007/s10072-020-04797-5.

Chin, Y. Y., Sakinah, H., Aryati, A., & Hassan, B. M. (2018). Prevalence, risk factors and secondary prevention of stroke recurrence in eight countries from South East and Southeast Asia: A scoping review. Medical Journal of Malaysia, 73(2), 90-99.

Frans K., Richard A.P. Takxa, H., W.A.M. de Jonga, Birgitta K. Velthuisa, L. Jaap Kappelleb, & Jan. W. Dankbaara. (2018). Clinical and imaging predictors of recurrent ischemic stroke: A systematic review and meta-analysis. Cerebrovascular Disease, 45, 279-87. DOI: 10.1159/000490422.

Hankey, G. J. (2014). Secondary stroke prevention. The Lancet Neurology, 13(2), 178-194.

Khanecski, A.N., Bjerkreim, A.T., Novotny, V. Naess, H., Logallo, N., & Kvistad, C.E. (2019). Recurrent ischemic stroke: Incidence, predictors, and impact on mortality. Acta Neurologica Scandinavica, 140(1), 3-8. DOI: 10.1111/ane.13093

Lambert, C.M., Olulana, O., Bailey-Davis, L., Abedi, V., & Ramin Zand, R. (2021). “Lessons Learned” Preventing recurrent ischemic strokes through secondary prevention programs: A systematic review. Journal of Clinical Medicine, 10(18). DOI: org/10.3390/jcm10184209

Markus MacGill. (2014). Psychological stress “increases risk of stroke”. http://www.medicalnewstoday.com/articles/279438.php.

Mia, K., Laura, C., & Christina, K. (2021). Recurrent ischemic stroke-A systematic review and meta-analysis. Journal of Stroke and Cerebrovascular Diseases, 30(8). 1-18. DOI: 10.1016/j.jstroke cerebrovasdis.2021.105935

Slark, J. (2010). Adherence to secondary prevention strategies after stroke: A review of the literature. British Journal of Neuroscience Nursing, 6(6), 282-286. DOI: 10.12968/bjnn.2010.6.6.77883

Turan, T.N., Nizam, A., Lynn, J. M., Egan, B.M., Le, N-A., Lopes-Virella, M.F., Hermayer, K.L., Harrell, J., Derdeyn, C.P., Fiorella, D., Janis, L.S., Lane, B., Montgomery, J., Chimowitz. M.I., (2017). Relationship between risk factor control and vascular events in the SAMMPRIS trial. Neurology, 88(3), 79-85.

Rijsbergen, V., Kop, M., Kort, D. & Sitskoorn. (2019). Psychological factors and subjective cognitive complaints after stroke: Beyond depression and anxiety. Neuropsychological Rehabilitation, 4, 1-14. DOI: 10.1080/09602011.2018.1441720

World Health Organization. (2013). World health statistics 2013: a wealth of information on global public health. https://apps.who.int/iris/bitstream/handle/10665/82058/WHO_HIS_HSI_13.1_eng.pdf?se

World Health Organization. (2019). Annual report 2019: Health for all. https://apps.who.int/iris/bitstream/handle/10665/333249/9789290223214eng.pdf?sequence=1&isAllowed=y

World Health Organization. (2022). The top 10 causes of death. https://www.who.int/news-room/fact-sheets/detail/the-top-10-causes-of-death#.BDXoc8HO

World Stroke Organization, (2022). Annual Report 2022. https://www.world-stroke.org/assets/downloads/WSO_Annual_Report_2022_-_online.pdf

Zhu, R., Xu, K., Shi, J., & Yan, Q. (2016). Time interval between first ever and recurrent stroke in a population hospitalized for second stroke: A retrospective study. Neurology Asia, 21(3), 209-216.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-06