นับลูกดิ้นนั้นสำคัญยิ่ง
คำสำคัญ:
การดิ้นของทารก, การนับลูกดิ้น, หญิงตั้งครรภ์บทคัดย่อ
การดิ้นของทารกในครรภ์เป็นสัญญาณของการมีชีวิตอยู่ และบ่งบอกถึงความสมบูรณ์แข็งแรงของทารก การนับลูกดิ้นเป็นเทคนิคพื้นฐานเพื่อประเมินสุขภาพทารกในครรภ์ การดิ้นน้อยลงหรือการหยุดดิ้นสัมพันธ์กับภาวะที่ทารกมีพยาธิสภาพหรือทารกในครรภ์เป็นอันตราย อาจเป็นเพราะได้รับสารอาหารและออกซิเจนผ่านทางรกไม่เพียงพอ เพื่อให้มั่นใจว่าทารกในครรภ์มีสุขภาพดี หญิงตั้งครรภ์ต้องนับลูกดิ้นทุกวันจนกว่าจะครบกำหนดคลอด โดยเริ่มเมื่ออายุครรภ์ครบ 28 สัปดาห์เป็นต้นไป วิธีการนับลูกดิ้นที่นิยมมี 2 วิธี ได้แก่ วิธีของ Moore & Piacquadio คือ นับให้ครบ 10 ครั้งใน 2 ชั่วโมง และวิธีของ Sadovsky และ Polishuk คือ นับให้ครบ 3 ครั้งใน 1 ชั่วโมงหลังอาหาร การร่วมมือในการนับลูกดิ้นของมารดาเป็นผลจากมารดามีความเข้าใจในวิธีการนับ การเห็นประโยชน์ของการนับและไม่รู้สึกลำบากต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน
References
กระทรวงสาธารณสุข. (2563). แผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 12 (2560-2564). สืบค้นจาก http://www.anamai.moph.go.th
กระทรวงสาธารณสุข สำนักส่งเสริมุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2561). การนับลูกดิ้น สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.
กัญญาพัชญ์ จาอ้าย, จีระภา บุษยาวรรณ และภัสธารีย์ นินเจริญวงษ์. (2560). ผลของโปรแกรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมต่อความรู้และพฤติกรรมการนับลูกดิ้นของหญิงตั้งครรภ์ชาวไทใหญ่ โรงพยาบาลหางดง จังหวัดเชียงใหม่. วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ, 23(1), 32-42.
กัลยา วิริยะ และอรพิน เกตุแก้วมณี. (2557). ประสบการณ์ความทุกข์ทางจิตใจของมารดาที่บุตรเสียชีวิตในครรภ์. วารสารมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 6(12), 1-12.
กฤติกา ธรรมรัตนกุล และคณะ. (2560). การพัฒนานวัตกรรมนับลูกดิ้น (preceding) การประชุมวิชาการ 45 ปี พยาบาล มช. สืบค้นจาก ww.nurse.cmu.ac.th>conference 2017
จงลักษณ์ ทวีแก้ว. (2562). การพัฒนาแอพพลิเคชั่นนับลูกดิ้น. สืบค้นจาก hi-in facbook.com
จิณวัตร จันครา, บุษณีย์ บรรพตะธิ, นุชนาฏ ธาตุทอง และน้ำฝน มโนราช. (2563). ผลการใช้แอนิเมชั่นและเพลงสอนนับลูกดิ้นต่อการบันทึกลูกดิ้นของสตรีตั้งครรภ์. Journal of Nursing Public Health, And Education, 21(2), 106-117.
บุญมี ภูด่านงัว. (2557). บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมการดูแลตนเองของหญิงตั้งครรภ์ต่อการนับและบันทึกลูกดิ้น. วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ, 37(1), 135-146.
ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง. (2560). การพยาบาลสตรีระยะตั้งครรภ์ Prenatal Nursing Care. กรุงเทพมหานคร: โครงการตำราคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.
นพคุณ สุขสวัสดิ์. (2560). สรุปเข้ม+ข้อสอบชีววิทยา ม.ปลาย มั่นใจเต็มร้อย, นนทบุรี: บริษัทไอดีซี.
โรงพยาบาลศิครินทร์. (2563). แบบบันทึกลูกดิ้น. สืบค้นจาก http://www.sikain.com
เอกชัย ภูผาใจ. (2560). นวัตกรรมตราปั๊มสอนนับลูกดิ้น. สืบค้นจาก www.kmblog>page_research.
อำไพ จารุวัชรพาณิชกุล. (2560). การเจริญเติบโตและพัฒนาการปกติของทารกในครรภ์. ในจันทรรัตน์ เจริญสันติ, (บ.ก.). การพยาบาลและการผดุงครรภ์ สตรีในระยะตั้งครรภ์ (น.17-50). เชียงใหม่: บริษัท สยามพิมพ์นานา จำกัด.
American College of Obstetricians and Gynecologists (ACOG). (2009). Intra partum fetal heart rate monitoring: nomenclature, interpretation and general management principles. ACOG practice Bulletin No.106. ACOG: Washington, DC, USA.
Baskett, TF., Liston, RM. (1989). Fetal movement monitoring: clinical application. Clinical Perinatal, 16(3), 613-25.
Bradford B, Maude R. (2018). Maternal perception of fetal movements in the third trimester: A qualitative description, 31(5), e287-e293. doi: 10.1016/j. wombi. 2017.12.007. Epub 2017 Dec 26.PMID: 29287635.
Bradford BF, Cronin RS, McKinlay CJD, Thompson JMD, Mitchell EA, Stone PR, (2019). A diurnal fetal movement pattern: Findings from a cross-sectional study of maternally perceived fetal movements in the third trimester of pregnancy. PLoS ONE, 14(6), e0217583. https://doi.org/10.1371/journal.pone.0217583.
Berbey R, Manduley A, Vigil-De Gracia P. (2001). Counting fetal movements as a universal test for fetal wellbeing. Int J Gynaecol Obstet, 74(3), 293-295.
Gilchrist L. (2015). Assessing in-utero activity. Br J Midwifery, 23(6), 406-11. https://doi.org/10.12968/ bjom.2015.23.6.406.
Greenow. R. CH, Gordon A, Li Q, Hyett JA (2013). A cross-sectional study of maternal perception of fetal movements and antenatal advice in a general pregnant population, using a qualitative framework. BMC Pregnancy Childbirth, 5, 13:32. doi: 10.1186/1471-2393-13-32.PMID: 23383737 Free PMC article.
Helen A. Guthrie. (1995). Human Nutrition. Boston, Massachusettes: Mc Graw- Hill.
Kamalifard M., Abbasalizadeh S., Ghojazadeh M., Samani FG Rabie L (2013). Diagnostic Value
of Fetal Movement Counting by Mother and the optimal Recording Duration. Journal Caring Science, 2(2), 89-95. Doi:10.5681/jcs.2013.011.
Mangesi L, Hofmeyr GJ, Smith V, Smyth RMD. (2005). Fetal movement counting for assessment of fetal wellbeing. Cochrane Database Syst Rev, (10), CD004909. https://doi.org/10.1002/14651858.CD004909.pub3
Moore T.R., & Piacquadio, K. (1989). A prospective evaluation of fetal movement screening to reduce the incidence of antepartum fetal death. American Journal Obstetric Gynecology, 160(5 Pt 1), 1075-1080.
Nijhuis JG, Prechtl HF, Martin CB, Jr., Bots RS. (1982). Are there behavioral states in the human fetus?. Early Hum Dev, 6(2), 177-95.
Patrick J, Campbell K, Carmichael L, Natale R, Richardson B. (1982). Patterns of gross fetal body movements over 24-hour observation intervals during the last 10 weeks of pregnancy. American Journal Obstetric Gynecology, 142, 363-71.
Pillitteri, A. (2014). Maternal and Child Heaith Nursing: Care of the Childbearing and Childrearing Family. (7rd ed). Philadelphia: J.B. Lippincott company.
Rayburn, WF. (1980). Clinical significance of perceptible fetal motion, Am J Obstet Gynecol, 138, 210-12.
Rayburn, WF. (1987). Monitoring fetal body movement. Clinical Obstetrics Gynecology, 30(4), 899-911.
Royal College of Obstetricians and Gynaecologists. (2011). Reduced fetal movements [Green top guideline 57]. Manchester: RCOG.
Rubin, R. (1984). Maternal identity and Maternal experience. New York: Springer.
Sadovsky, E., Polishuk, W.Z. (1977). Fetal movements in utero: nature, assessment, prognostic value, timing of delivery. Obstetric Gynecology, 50(1), 49-55.
Schoenwolf, G.C., Bleyl, S.B., & Francis-West, P.H. (2009). Larsen’s human embryology (4thed.) Philadelphia: Elsevier Churchill Livingstone.
Suwanrath, C., Sutharasaj, T. (2010). Sleep-wake cycles in normal fetuses. rch Gynecol Obstet 2010 Mar, 281(3), 449-54. doi: 10.1007/s00404-009-1111-3. Epub 2009 May 12.
Tveit JVH, Saastad E, Stray-Pedersen B et al. (2009). Reduction of late stillbirth with the introduction of fetal movement information and guidelines-a clinical quality improvement. BMC Pregnancy Childbirth, 9(1), 32. https://doi. org/10.1186/1471-2393-9-32