การสร้างความตระหนักและส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อลด ละ เลิกบุหรี่ ในผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

ผู้แต่ง

  • ทิพวัลย์ ธีรสิริโรจน์ อาจารย์ประจำ คณะพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีสวรรค์ประชารักษ์ นครสวรรค์

คำสำคัญ:

ลด ละ เลิกบุหรี่, ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

บทคัดย่อ

องค์การอนามัยโลกรายงานว่า โรคที่เกิดจากการใช้ชีวิตของคนในปัจจุบันทั่วโลกคือโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โรคกลุ่มนี้เกิดได้จากการใช้ชีวิตประจำวันไม่เหมาะสม เช่น การสูบบุหรี่ ผู้ป่วยจึงมีคุณภาพชีวิตแย่ลง มีความพิการ หรือแม้แต่เป็นสาเหตุของการเสียชีวิตได้

การสูบบุหรี่เป็นภัยคุกคามอย่างหนึ่งที่ส่งผลต่อสุขภาพคนทั่วโลก โดยเฉพาะในกลุ่มผู้ที่เป็นโรคเรื้อรัง ได้แก่ โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมองและโรคหลอดเลือดหัวใจ และทำให้ผู้ป่วยกลุ่มนี้มีอาการของโรครุนแรงเพิ่มขึ้น การให้ความรู้และเพิ่มทักษะการส่งเสริมภาวะสุขภาพช่วยเหลือผู้ป่วยโรคเรื้อรังให้เลิกบุหรี่ เพื่อลดความรุนแรงของโรค และสร้างความตระหนักถึงพิษภัยของบุหรี่ให้กับผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและประชาชน เป็นบทบาทสำคัญของพยาบาลในการควบคุมยาสูบและเป็นองค์ประกอบสำคัญในการดูแลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังด้วย

บทความนี้กล่าวถึงความรู้เกี่ยวกับพิษภัยของบุหรี่เพื่อสร้างความตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเลิกบุหรี่สำหรับผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคเรื้อรังให้ดียิ่งขึ้นต่อไป

References

กลุ่มพัฒนานโยบายสาธารณะ และสื่อสารความเสี่ยง กองโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2564). รู้ตัวเลข รู้ความเสี่ยงสุขภาพ. สืบค้นจาก https://ddc.moh.go.th/uploads/publish/1064820201022081932.pdf

กลุ่มพัฒนาระบบสาธารณสุข สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค. (2563). ประเด็นสารรณรงค์วันความดันโลหิตสูงโลก ปี 2561. สืบค้นจาก htt://www.thaincd.com/document/file/info/non- Isease

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2561). สถานการณ์โรคหลอดเลือดหัวใจ Coronary Artery Disease (CAD) ปี พ.ศ. 2561. สืบค้นจาก https://ddc.moph.go.th/uploads/files/1081120191227091554.pdf

กรมสุขภาพจิต. (2564). ข่าวจากหนังสือพิมพ์ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพจิต ไทยเจ๋ง!!! ผลิตยาเลิกบุหรี่สำเร็จเป็นครั้งแรกของไทย. สืบค้นจาก https://www.dmh.go.th/news-dmh/view.asp?id=30812.html.

กองโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค. (2563). กรมควบคุมโรค รณรงค์วันเบาหวานโลก ปี 2563 หนุนบทบาทพยาบาลร่วมสร้างพลังแห่งการเปลี่ยนแปลงโรคเบาหวาน. สืบค้นจาก https://ddc.moph.go.th/brc/ news.php?news=15591&deptcode=brc

คณะทำงานพัฒนาแนวปฏิบัติบริการสาธารณสุขโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง. (2553). แนวปฏิบัติบริการสาธารณสุขโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง พ.ศ. 2553. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ.

คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล. (2558). มะเร็งกล่องเสียง (Laryngeal Cancer) รักษาหายได้ ถ้ามาพบแพทย์แต่เนิ่นๆ (ตอนที่ 1). สืบค้นจาก https://www.si.mahidol.ac.th/th/healthdetailasp?aid=1152

คอลิด ครุนันท์ จารุวรรรณ มานะสุรการ และเพลินพิศ ฐานิวัฒนานนท์. (2559). ผลของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่บูรณาการสมรรถนะแห่งตนในการเลิกบุหรี่ต่อพฤติกรรมต่อสรรถนะแห่งตนในการเลิกบุหรี่ของผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรัง. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้, 5(1), 47-61.

จุฑารัตน์ อยู่สุขเจริญ. (2560). ปัจจัยทำนายความตั้งใจเลิกบุหรี่ของผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ (วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. กรุงเทพมหานคร.

ไชยสิทธิ์ วงศ์วิภาพร. (2552). บุหรี่กับโรคหัวใจและหลอดเลือด. ใน สุทัศน์ รุ่งเรืองหิรัญญา, และรณชัย คงสกนธ์ (บ.ก.), พิษภัยและการรักษาโรคติดบุหรี่ (น. 209-213). กรุงเทพมหานคร: สหประชาพาณิชย์.

ทัศนา บุญทอง, ผ่องศรี ศรีมรกต และสุรินธร กลัมพากร. (2551). บุหรี่กับสุขภาพ บทบาทของพยาบาลต่อการสร้างสังคมไทยปลอดบุหรี่. เชียงราย: เชียงรายรุ่งโรจน์.

เนติกาญจน์ เปาโสภา และอารีย์วรรณ อ่วมตานี. (2562). การศึกษาบทบาทพยาบาลคลินิกเลิกบุหรี่. วารสารพยาบาลตำรวจ, 11(2), 316-323.

ประกิต วาทีสาธกกิจ. (2554). การสูบบุหรี่กับสุขภาพปากและฟันของคุณ. [แผ่นพับ]. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่.

ฝ่ายแผนงานและสถิติ สถาบันมะเร็งแห่งชาติ. (2563). สถิติโรคมะเร็งของประเทศไทย. สืบค้นจาก https://srth.moph.go.th/nmsurat/index

มะเร็งวิทยาสมาคมแห่งประเทศไทย. (2562). ทำความรู้จักกับโรคมะเร็งกันเถอะ. กรุงเทพมหานคร: American Cancer Society และ Pfizer Foundation.

มูลนิธิโครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน. (2563). ผลกระทบของการสูบบุหรี่. สืบค้นจาก http://saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=28&chap=6&page=t28-6-infodetail05.html

โรงพยาบาลสมิติเวช. (2563). สูบบุหรี่ เสี่ยงติดโรค ‘โควิด-19’ หรือไม่. สืบค้นจาก https://www.samitivej-hospitals.com/th/article/detail/

โรงพยาบาลมะเร็งฟูด้า ในสังกัดมหาวิทยาลัยจี้หนาน. (2564). มะเร็งกล่องเสียง. สืบค้นจาก http://www. fudathailand.com/article-detail?menu_id=40000000&item=18

ธนะวัฒน์ รวมสุก ณิชมน หลำรอด และบุญทิพย์ ลิขิตพงษ์วิทย์. (2564). บทบาทพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนกับการช่วยเลิกบุหรี่ในผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง. วารสารพยาบาล, 70(1), 34-41.

วิวรรณ ทังสุบุตร, ดำรัส ตรีสุโกศล, วศิน วัฒนา บุญสม, โสภณ สงวนวงษ์, และบุญชู ศรีชัยเวชย์. (2550). ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันในผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่อายุน้อย : ข้อมูลจากทะเบียนผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันแห่งประเทศไทย. Journal Medical Association Thailand, 90, 81-90.

ศุภวรรณ มโนสุนทร. (2558). รายงานการพยากรณ์โรคหลอดเลือดสมอง. สืบค้นจาก www.interfetthailand.net/forecast/files/report_2014/report_2014_no20.pdf

สมาคมความดันโลหิตสูงแห่งประเทศไทย. (2563). โรคความดันโลหิตสูง. สืบค้นจาก http://www.thaihypertension.org/information.html

สมาคมโรคหลอดเลือดสมองไทย. (2563). สถานการณ์โรคหลอดเลือดสมอง. สืบค้นจาก https://thaistrokesociety.org/purpose

สาขารังสีรักษา และมะเร็งวิทยา ฝ่ายรังสีวิทยา โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์. (2564ก). การสูบบุหรี่กับโรคมะเร็ง. สืบค้นจาก https://www.chulacancer.net/faq-list-page.php?id=317

สาขารังสีรักษา และมะเร็งวิทยา ฝ่ายรังสีวิทยา โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์. (2564ข). มะเร็งปอด. สืบค้นจาก

https://www.chulacancer.net/education-inner.php?id=375

สาธิต อินต๊ะ. (2560). ผลของรังสีโดยตรงและอ้อมจากการฉายรังสีภาพนำแบบเกลียวหมุนในเซลล์ปอดปกติและ

เซลล์มะเร็งปอดหลังการฉายรังสีแบบหลายๆ ครั้งที่เท่ากันเทียบกับฉายครั้งเดียว (วิทยานิพนธ์ปริญญา

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.

สุนิดา ปรีชาวงษ์, ฟอระดี นุชส่งสิน และศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์. (2558). การทบทวนวรรณกรรมเรื่องประสิทธิผลของการให้บริการช่วยเลิกบุหรี่ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง. วารสารสาธารณสุขศาสตร์, 45(3). 324-333.

สุปาณี เสนาดิสัย และสุรินธร กลัมพากร. (2555). บุหรี่กับสุขภาพ. พยาบาลกับการควบคุมการบริโภคยาสูบ.

กรุงเทพมหานคร: เบณจผล.

สุรัตน์ โคมินทร, รุ่งชัย ชวนไชยะกูล, สุรัสวดี สมนึก, และคณะ. (2557). การพัฒนารูปแบบการจัดการปัญหาภาวะ

อ้วนลงพุงและภาวะแทรกซ้อนของประชากรในเขตกรุงเทพมหานคร. สืบค้นจาก http://164.115.27.97/

digital/files/original/629cea98385eeaecb919ba6e8b85111c.pdf

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2551). วิจัยชี้สูบบุหรี่ อ้วน ทำเสี่ยงหูหนวกถาวร. สืบค้นจาก

https://www.thaihealth.or.th/Content/6378.html

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2563). ความดันเลือดสูง ภัยเงียบที่ไม่ควรมองข้าม. สืบค้นจาก

https://www.thaihealth.or.th/Content/53479.html

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2563). กลุ่มโรค NCDs. สืบค้นจาก https://www.thaihealth.

or.th/microsite/categories/5/ncds/2/173/176.html

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2563). สูบบุหรี่เป็นของต้องห้าม คนเป็นโรคความดันโลหิตสูง. สืบค้นจาก https://www.thaihealth.or.th/Content/50122.html

สำนักงานนิเทศ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข. (2563). วันถุงลมโป่งพองแห่งโลก (World COPD Day). สืบค้นจาก https://pr.moph.go.th/?url=pr/detail/2/03/149340/.html

สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2556). คู่มือการปฏิบัติงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.). (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทยจำกัด

สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค. (2559). สถิติข้อมูลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง. สืบค้นจาก http://www.thaincd.com

สำนักวิจัยนโยบายสร้างเสริมสุขภาพ สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ. (2557). รายงานสถานการณ์โรค NCDs : วิกฤตสุขภาพ วิกฤตสังคม. สืบค้นจาก http://www.thaincdnet.ihppthaigov.net/2019/06/02

สำนักสารนิเทศ กระทรวงสาธารณสุข. (2559). สธ. เผยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นสาเหตุการเสียชีวิตร้อยละ 73 ของการเสียชีวิตของประชากร เร่งพัฒนาสมรรถนะแก่บุคลากรเพื่อลดผู้ป่วยรายใหม่. สืบค้นจาก http://pr.moph.go.th/iprg/include/admin_hotnew/show_hotnew.php?idHot_new=89828

เสาวลักษณ์ ทาแจ้ง, นฤมล เปรมาสวัสดิ์ และกาญจนา ปัญญาธร. (2564). บทบาทพยาบาลชุมชนในการดูแลผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูงกับการลดการสัมผัสควันบุหรี่. วารสารสุขภาพและการศึกษาพยาบาล, 27(1), 219-230.

อมรรัตน์ มานะวัฒนวงศ์ และคณะ. (2560). ผู้ป่วย ด้วย NCD มีพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพอยู่มากน้อยแค่ไหน: รายงานจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ.2558. วารสารวิจัยสาธารณสุข, 11(3), 345-354.

อภิชาต สุคนธสรรพ์. (2553). Coronary artery disease. เชียงใหม่: ทริค ธิงค์.

อารยา หาอุปละ และน้ำเพชร สายบัวทอง. (2561). การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานที่สูบบุหรี่ต่อเนื่องและเลิกสูบบุหรี่แล้ว. วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม, 15(2), 69-77.

อิทธิพงฒ์ ศรีธรวรรณกูล และพิชามญชุ์ ค้าแพรดี. (2557). ความรู้และพฤติกรรมสุขภาพในชีวิตประจําวันที่เกี่ยวข้องกับโรคหลอดเลือดสมองในอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้าน อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี. (รายงานผลการวิจัย). ปทุมธานี : โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อรวัลย์ เมฆเคลื่อน. (2561). การศึกษาผลของการให้การปรึกษาแบบสร้างแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ได้รับการบำบัดในคลินิิกสุขภาพใจโรงพยาบาลศรีประจันต์. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีสุพรรณบุรี, 1(1), 38-48.

American Diabetes Association. (2014). Diagnosis and classification of diabetes mellitus. Diabetes Care, 37, S81-S90.doi:10.2337/dc14-S081.

Chouinard, M. C., and Robichaud-Ekstrand, S. (2005).The effectiveness of a Nursing inpatient smoking

cessation program in individuals with Cardiovascular disease. Nursing Reseach, 54(4), 243-254.

World Health Organization. (2013). WHO report on the global tobacco epidemic, 2013 Enforcing bans on tobacco advertising, promotion and sponsorship. Luxembourg: WHO Press.

World Health Organization. (2020). Tobacco. Retrieved from https://www.who.int/news-room/fact-sheets/detail/tobacco

World Health Organization. (2021). Fact sheet: Diabetes. Retrieved from http://www.who.int/mediacentre/factsheets/fs312/en/

World Health Organization. (2022a). Protect the environment, World no tobacco day 2022 will give you one more reason to quit. Retrieved from https://www.who.int/news/item/13-12-2021-protect-the-environment-world-no-tobacco-day-2022-will-give-you-one-more-reason-to-quitWorld Health Organization. (2021b). Fact sheet: Noncommunicable disease. Retrieved from https://www.who.int/news-room/fact-sheets/detail/noncommunicable-diseases.

Wu, J., and Sin, D.D. (2011). Improved patient outcome with smoking cessation: When is it toolate? International Journal of Chronic Obstructive Pulmonary Disease, 6, 259–267.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-11-17