การประเมินความปลอดภัยด้านอัคคีภัยในอาคาร กรณีศึกษาอาคารเรียนของมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในภาคใต้ตอนล่าง
คำสำคัญ:
ประเมินความปลอดภัย, อัคคีภัย, ระบบป้องกันอัคคีภัยบทคัดย่อ
บทความนี้เป็นการศึกษาการประเมินความปลอดภัยด้านอัคคีภัยในอาคาร โดยศึกษาอาคารเรียนของมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในภาคใต้ตอนล่าง เป็นกรณีศึกษาซึ่งอาคารดังกล่าวเป็นอาคารสำนักงาน อาคารเรียน และห้องประชุม โครงสร้างอาคารเป็นคอนกรีตเสริมเหล็กก่อสร้างปี 2551 เข้าข่ายบังคับใช้ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535) ออกตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 จะมีผลบังคับใช้ซึ่งเป็นกฎหมายควบคุมสำหรับอาคารขนาดใหญ่พิเศษและอาคารสูง ต้องจัดให้มีระบบป้องกันอัคคีภัยตามที่กฎหมายกำหนด การศึกษาครั้งนี้เพื่อสำรวจและประเมินความปลอดภัยทางด้านอัคคีภัยในอาคาร และเพื่อเสนอแนะแนวทางการแก้ไขข้อบกพร่องด้านการป้องกันอัคคีภัย โดยใช้แบบประเมิน Checklist ในการตรวจ ผลการศึกษาพบว่าจากข้อกําหนดด้านการป้องกันอัคคีภัยจำนวน 33 ข้อ ที่เกี่ยวข้องกับระบบอัคคีภัยของอาคารพบข้อบกพร่องหรือไม่เป็นไปตามข้อกำหนดจำนวน 2 ข้อ โดยข้อบกพร่องที่พบนั้นเกิดจากขั้นตอนการออกแบบในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันอัคคีภัย จึงควรหามาตราการในการป้องกันผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากความปลอดภัยด้านอัคคีภัยโดยมีการบริหารจัดการพื้นที่ด้านข้างของอาคาร และการจัดทำผนังกันไฟโดยรอบของบันไดหนีไฟ ตามมาตรฐานกำหนด
References
Vacirasakchai T. (2010). Building fire safety assessment a case study of 14 floors academic building. Independent study in Master of Science. Sripatum University. (In Thai)
Ministerial Regulation No.33. 1992; cited 1979 Available at https://download.asa.or.th/03media/04law/cba/mr/mr35-33.pdf accessed on 15 January 2024.
Dailynews. Fire at University Wang klai kangwon campus. Available at https://www.dailynews.co.th/news/2947242/ accessed on 15 August 2024.
Kungsadan K. Building fire safety assessment a case study of 12 storey building 36 meter high Sukhumvit Soi Thonglor 20. The 14 th KU-KPS Conferent 2017; 7-8 December 2017.
Vorakarnchanabun N, Kongchot W, Pangwattanakul P, Konkaew I, Aiemsomang N. Risk assessment of fire protection and suppression system in a religious place: A case study of Bang phli yai nai Temple, Samutprakarn Province. PTU Journal of science and technology 2021;2(1):40-62. (In Thai)
Madarak J. (2011). Fire safety assessment a case study Chalearmprakiat building at Dhurakij Pundit University. Independent study in Master of Science. Dhurakij Pundi University. (In Thai)
Patcharakornpinyo A. (2020). Implementtation of building fire protection laws of large shopping malls. Journal of humanities and social sciences. 8(2). 89-107. (In Thai)
Department of Public Works and Town and Country Planning. Fire escape standards. Available at https://info.dpt.go.th/appservice/wan/webboard/showdetail_id3.asp?id=%201114 accessed on 15 January 2024.
Patcharakornpinyo A, Trimek J. (2022). A collaborative model for resolution to prevent accidental fires in high – rise building in Thailand. Journal of philosophical. 27(2). 11-27. (In Thai)
Panmanimit R, Chiraon K, Thongsinuan A, Chitpirom K. Means of egress survey and evacuation time calculation: Building number 9, Bansomdejchaopraya Rajabhat University. KKU Journal for public health research 2020;13(3):90-98. (In Thai)
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.