การพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัดหลอดเลือดแดงใหญ่ช่องท้องโป่งพองปริแตก: กรณีศึกษา

ผู้แต่ง

  • รุ่งทิวา วงศ์วิริยชาติ โรงพยาบาลพุทธชินราช, พิษณุโลก

คำสำคัญ:

การพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัด, หลอดเลือดแดงใหญ่ช่องท้องโป่งพองปริแตก, กรณีศึกษา

บทคัดย่อ

ผู้ป่วยหลังผ่าตัดหลอดเลือดแดงใหญ่ช่องท้องโป่งพองปริแตกที่ได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัด จำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องได้รับการพยาบาลอย่างใกล้ชิดในหอผู้ป่วยหนัก เนื่องจากผู้ป่วยมีความเสี่ยงในการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการจากการผ่าตัด พยาบาลจึงต้องมีความรู้เกี่ยวกับภาวะแทรกซ้อนสำคัญหลังผ่าตัดและการพยาบาลหลังได้รับการผ่าตัด บทความนี้มีวัตถุประสงค์นำเสนอเกี่ยวกับชนิด สาเหตุโรคหลอดเลือดแดงใหญ่ช่องท้องโป่งพอง พยาธิสภาพวิทยาการ อาการและอาการแสดง การวินิจฉัยโรค การรักษาหลอดเลือดแดงใหญ่ช่องท้องโป่งพองปริแตก ภาวะแทรกซ้อนสำคัญหลังผ่าตัด การพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัดโรคหลอดเลือดแดงใหญ่ช่องท้องโป่งพองปริแตก และแผนการพยาบาลผู้ป่วยกรณีศึกษา เพื่อให้ผู้ที่สนใจนำความรู้ไปดูแลผู้ป่วยได้อย่างถูกต้องส่งผลให้ประสิทธิภาพการพยาบาลดียิ่งขึ้น

References

กำพล เลาหเพ็ญแสง. (2560). ศัลยศาสตร์หลอดเลือด. กรุงเทพฯ: พี.บี.ฟอเรน บุคส์ เซ็นเตอร์.

กิตติคุณ อ๋อสกุล. Collective rivew Rupture Abdominal aortic aneurysm. สืบค้นจาก http://medinfo2.psu.ac.th/surgery/Collective%20review/2558/15

เกศศิริ วงษ์คงคำ, และอรชุมา นากรณ์. (2559). การพยาบาลศัลยศาสตร์: ผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด. กรุงเทพฯ : หจก.เอ็นพีเพรส

บูรพา กาญจนบัตร และ ไวกูนฐ์ สถาปนาวัตร. ศัลยศาสตร์หลอดเลือดในเวชปฏิบัติทั่วไป. (พิมพ์ครั้งที่3). กรุงเทพฯ: บริษัทโฆสิตการพิมพ์ จำกัด

พงษ์ กาญจนสุทธิรักษ์. (2561). หลอดเลือดแดงใหญ่ช่องท้องโป่งพอง Abdominal Aortic Aneurysma(AAA). ใน บูรพา กายจนบัตร, ไวกูนฐ์ สถาปนาวัตร (บ.ก.), ศัลยศาสตร์หลอดเลือดในเวชปฏิบัติทั่วไป. (หน้า199-211). (พิมพ์ครั้งที่3). กรุงเทพฯ: โฆสิตการพิมพ์

สมพร ชินโนรส. (2559). การพยาบาลทางศัลยศาสตร์ เล่ม4. (พิมพ์ครั้งที่2). กรุงเทพฯ : บริษัท รำไทยเพรส จำกัด

Kohlman-Trigoboff D., Rich K., Foley A., Fitzgerald K., Arizmendi D., Robinson C., Brown R., Treat Jacobson D. (2020). Clinical practice guideline: Society for vascular nursing endovascular repair of abdominal aortic aneurysm updated nursing clinical practice guideline. Journal of Vascular Nursing, 38(2), 36-64. https://doi.org/10.1016/j.jvn.2020.01.004

Schreiber, M. L. (2018). Evidence-based practice. Acute respiratory distress syndrome. MEDSURG Nursing, 27(1), 59–65.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-10-03