แผลเบาหวานที่เท้า: บทบาทของพยาบาลเพื่อการป้องกันตามหลักพยาธิสรีรวิทยา

ผู้แต่ง

  • รัตนา ช้อนทอง อาจารย์ประจำหลักสูตร Bachelor of Nursing Science Program (International Program) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยคริสเตียน
  • อนงค์รักษ์ พิมภาวะ อาจารย์ประจำหลักสูตร Bachelor of Nursing Science Program (International Program) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยคริสเตียน

คำสำคัญ:

แผลเท้าเบาหวาน, พยาธิสรีรวิทยา, การป้องกัน, บทบาทพยาบาล

บทคัดย่อ

การสูญเสียอวัยวะ ตา ไต เท้า พบได้บ่อยในผู้ป่วยเบาหวานซึ่งควบคุมระดับน้ำตาลไม่ได้ ผู้ป่วยเบาหวานที่มีแผลที่เท้าจัดอยู่ในกลุ่มเสี่ยงสูงต่อการถูกตัดขาเนื่องจากภาวะเบาหวานชักนำให้เกิดการติดเชื้อและการหายของแผลล่าช้า ปัจจุบันผู้ป่วยและทีมสุขภาพสามารถป้องกันการสูญเสียได้จากปัจจัยสองประการ ประการแรกเป็นความร่วมมือระหว่างผู้ป่วยและเครือข่ายการดูแลของสหสาขาวิชาชีพทุกระดับศูนย์ดูแลแผลเท้าเบาหวาน ประการที่สองคือความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีของยุคปัจจุบันทำให้การค้นหาวิธีการรักษา สารและเวชภัณฑ์ใหม่ๆ ซึ่งช่วยส่งเสริมการหายของแผลและยับยั้งการติดเชื้อในระดับโมเลกุล ในขณะเดียวกันการป้องกันเท้าเบาหวานจะประสบความสำเร็จได้ด้วยนโนบายจากองค์กรซึ่งสนับสนุนด้านใช้เทคโนโลยีในการวิเคราะห์ข้อมูล ระบบการส่งต่อ และจัดหาหรือดำรงระบบการดูแลเท้าเบาหวานที่พัฒนาได้ผลเชิงประจักษ์แล้วนั้น พยาบาลเป็นบุคคลากรที่มีในทุกระดับของศูนย์ดูแลเท้าเบาหวานและเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนกิจกรรมป้องกันการสูญเสียเท้าเบาหวาน พยาบาลผู้ทำหน้าที่ในการป้องกันเท้าเบาหวานจำต้องเป็นมีองค์ความรู้ของแผลเท้าเบาหวานอย่างลึกซึ้งเพื่อเชื่อมโยงไปสู่การเป็นผู้ป้องกันเท้าเบาหวาน บทความนี้จัดทำเพื่อฟื้นวิชาการเท้าเบาหวานเกี่ยวกับพยาธิสรีรวิทยา แนวทางการประเมินและการป้องกัน การจัดระบบบริการสุขภาพ บทบาทพยาบาลและอุปสรรคในการทำหน้าที่ป้องกันเท้าเบาหวาน

References

กมลวรรณ วงวาส, ศากุล ช่างไม้, และวีนัส ลีฬหกุล. (2562). ผลของโปรแกรมลดความเสี่ยงต่อการเกิดแผลที่เท้าของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2. วารสารโรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์, 15(2), 34-45.

ชลิดา อนุกูล และดวงเนตร ธรรมกุล. (2558). การดูแลผู้ป่วยเบาหวานมีแผลที่เท้าโดยใช้การจัดการผู้ป่วยรายกรณี: ประสบการณ์ของ Entero–Stomal Therapist Nurse โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา, 21(1), 78-86.

นงณภัทร รุ่งเนย, ศิริพร ครุฑกาศ, เยาวลักษณ์ มีบุญมาก, นงคราญ บุญอิ้ง, และน้ำฝน วชิรรัตนพงษ์เมธี. (2563). พฤติกรรมการแสวงหาการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2. วารสารวิชาการสาธารณสุข, 29(2), 201-210.

วงเดือน ฦาชา, สุชัญญา เบญจวัฒนานนท์, กาญจนา เปสี, และพนิตนาฏ รักษ์มณี. (2554). การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน โรงพยาบาลชัยภูมิ. วารสารกองการพยาบาล, 38(1), 31-41.สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ (2556). แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนที่เท้า. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

อนงค์ เอื้อวัฒนา, อนุรักษ์ ชิดดี, และปิยพร นิสสัยกล้า. (2561). ระบบการดูแลผู้ป่วยเบาหวานที่มีแผลที่เท้าโรงพยาบาลอำนาจเจริญ. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ, 36(1), 198-206.

อรพินธ์ สีขาว. (2559). การดูแลเท้าในผู้ป่วยโรคเบาหวาน. ในโครงการสำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ (บ.ก.). การจัดการโรคเบาหวาน : มิติของโรคและบทบาทของพยาบาล (น. 123-143). กรุงเทพมหานคร: หจก.เอ็มแอนด์เอ็มเลเซอร์พริ้นต์.

American Diabetes Association. (2020). Microvascular complications and foot care: Standards of medical cre in diabetes-2020. Diabetes Care, 43(Suppl.1), S135–S151. Doi:10.2337 /dc20-s011

Boulton, A., Armstrong, G., Malone, M., Embil, J., Attinger, C., Lipsky, B. et al. (2020). Diagnosis and management of dabetic foot infections. Retrieved from https://doi.org/10.2337/db2020-01

Brashers, V., Jones, R., & Huether, S. (2019). Alterations of Hormonal Regulation. In McCance, L. (Eds.). Pathophysiology; The biology basis for disease in adults and children. Canada: Elsevier.

Brousseau-Foley, M. & Blanchette, V. (2020). Multidisciplinary management of diabetic foot ulcers in primary cares in quebec: Can we do better?. Journal of Multidisciplinary Healthcare, 13, 381-385.

Fu, M., Thoma, E., Starkweather, A., Henderson, W., Cashion, A., Williams, J. et al. (2019). Precision health: A nursing perspective. International Journal of Nursing Sciences, 7(1), 5-12. Doi:10.1016/j.ijnss.2019.12.008

Geerlings, S., & Hoepelman, A. (2020). Immune dysfunction in patients with diabetes mellitus(DM). FEMS Immunology and Medical Microbiology. 26(3-4), 259-265. Doi:10.1111/j.1574-695X.1999.tb01397.x.International Diabetes Federation. (2020). IDF diabetes atlas, (9th edition). Retrieved from www.diabetesatlas.org

Netten, J., Bus, S., Apelqvist, J., Lipsky, B., Hinchliffe, R., Game, F. et al. (2020). Definition and criteria for diabetic foot disease. Diabetes/Metabolism Research and Reviews, 36(S1), 3268. Doi:10.1002/dmrr.3268

Netten, J., Woodburn, J. & Bus, S. (2020). The future for diabetic foot ulcer prevention: A paradism shift stratified healthcare towards personalized medicine (Research report). John Wiley & Sons Ltd, Diabetes/Metabolism Research and Reviews.

Nikitara, M., Constantinou, C. S., Andreou, E., & Diomidous, M. (2019). The role of nurses and the facilitators and barriers in diabetes care: A mixed methods systematic literature review. Retrieved from https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC6616628 /pdf/behavsci-09-00061.pdf

Patel, S., Srivastava, S., Singh, M., & Singh, D. (2019). Mechanistic insight into diabetic wounds: pathogenesis, molecular targets and treatment strategies to pace wound healing. Biomedicine & Pharmacotherapy, 112(108615). Doi:10.1016/j.biopha.2019.108615

Sandeep, G. (2019). Inflammation, Tissue repair, and Wound healing. In Kelley, S. (Eds.). Porth’s Pathophysiology: Concept of altered health states. China: Wolters Kluwer.

Schaper, N., Netten, J., Apelqvist, J., Bus, S., Hinchlife, R., Lipsky, B. (2020). Practical Guidelines on the prevention and management of diabetic foot disease (IWGDF 2019 update). Diabetes/Metabolism Research and Reviews, 36(S1):e3266. Doi:10.1002/dmrr.3266

Shorey, S. & Lopez, V. (2021). Self-Efficacy in a nursing context. In Haugan, G. (Eds.). Health Promotion in health care-vital theories and research. Doi: 10.1007/978-3-030-63135-2

Stuckey, H., Adelman, M., & Gabbay, R. (2011). Improving care by delivering the chronic care model for diabetes.Retrieved from https://www.openaccessjournals.com/articles/improving-care-by-delivering-the-chronic- care-model-for-diabetes.pdf

Williams, R., Karuranga, S., Malanda, B., Saeedi, P., and Basit, A. et al. (2020). Global and regional estimates and projections of diabetes-related health expenditure: Results from the international diabetes federation diabetes atlas, (9th edition). Diabetes Research and Clinical Practice, 162(1), Retrieved from DOI: https://doi.org/10.1016/j.diabres. 2020.10872. May, 31, 2021.

World Health Organization (2002). Innovative care for chronic conditions: building blocks for action: Global report. Retrieved from https://www.who.int/chp/knowledge/publications/icccglo-balreport.pdf

World Health Organization (2020). Newsroom: Diabetes. Retrieved from https://www.who.int/news-room/fact-sheets/detail/diabetes

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-01-12