การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในมารดาผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องที่ทารกป่วย : บทบาทสำคัญของพยาบาล
คำสำคัญ:
การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่, มารดาผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องที่ทารกป่วย, บทบาทสำคัญของพยาบาลบทคัดย่อ
ปัจจุบันแนวโน้มการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง อาจเป็นอุปสรรคต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เช่น อาการง่วงซึมจากฤทธิ์ของยาระงับความรู้สึก อาการเหนื่อยล้าและอาการปวดแผลผ่าตัด เป็นต้น ส่งผลให้การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ล่าช้ากว่าปกติ โดยเฉพาะกลุ่มมารดาผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องที่ต้องแยกจากกับทารกในระยะหลังคลอด เนื่องจากทารกแรกเกิดมีปัญหาสุขภาพต้องได้รับการส่งต่อไปยังแผนกทารกแรกเกิดป่วยหรือแผนกทารกแรกเกิดวิกฤต ด้วยเหตุนี้ทารกจึงขาดการกระตุ้นให้ดูดนมมารดาตั้งแต่แรกเกิด ส่งผลให้มารดาไม่ได้รับการกระตุ้นการสร้างน้ำนมจึงทำให้น้ำนมไหลช้าหรือน้ำนมไม่ไหลได้ บทความวิชาการเรื่องนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอความรู้เกี่ยวกับบทบาทสำคัญของพยาบาลในการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในกลุ่มมารดาผ่าตัดคลอดที่ทารกป่วย โดยประยุกต์ใช้บันได 10 ขั้น สู่ความสำเร็จในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในทารกป่วยเป็นแนวทางในการพยาบาลเพื่อกระตุ้นการสร้างและหลั่งน้ำนมให้เร็วขึ้นและมีปริมาณเพียงพอ เพื่อให้ทารกป่วยมีสุขภาพที่ดีหายจากการเจ็บป่วยเร็วขึ้น
References
กนกพร เอื้ออารีย์กุล, พรรณรัตน์ แสงเพิ่ม และสุดาภรณ์ พยัคฆเรือง. (2561). ผลของโปรแกรมกระตุ้นน้ำนมต่อปริมาณน้ำนมและระยะเวลาที่มารดามีน้ำนมเพียงพอสำหรับทารกในมารดาทารกเกิดก่อนกำหนดที่ผ่าตัดคลอด. วารสารพยาบาลศาสตร์, 36(3), 71-82.
กนกวรรณ โคตรสังข์, ศิริวรรณ แสงอินทร์ และอุษา เชื้อหอม. (2558). ผลของโปรแกรมการกระตุ้นการหลั่งน้ำนมต่อระยะเวลาการเริ่มไหลของน้ำนมระยะเวลาการมาของน้ำนมเต็มเต้าและการรับรู้ความสามารถในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในมารดาหลังผ่าตัดคลอดบุตรทางหน้าท้อง. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 24(1), 13-26.
กฤษณา ปิงวงค์ และกรรณิการ์ กันธะรักษา. (2560). การนวดเต้านมเพื่อส่งเสริมการสร้างและการหลั่งน้ำนม. พยาบาลสาร, 44(4), 169-176.
การุณ เก่งสกุล. (2562). ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์ระบุผ่าตัดคลอดโดยไม่มีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์เพิ่มความเสี่ยง จากการคลอด. สืบค้นจาก https://www.hfocus.org/content/2019/08/17586
เกรียงศักดิ์ จีระแพทย์. (2562). การบีบน้ำนมด้วยมือ (hand expression of breast milk). สืบค้นจาก https://www.si.mahidol.ac.th/siriraj_online/thai_version/ Health_ detail
จงลักษณ์ ทวีแก้ว, กัลยา บัวบาน และปรางทิพย์ ทาเสนาะ เอลเทอร์. (2563). เนื้อแนบเนื้อสัมผัสแรกรักจากแม่สู่ลูก : ความสำคัญและการปฏิบัติ. วารสารวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์, 3(3), 2-8.
ทิพวัลย์ ดารามาศ. (2563). การให้โคลอสตรุ้มทางปากในทารกเกิดก่อนกำหนด Oral colostrum administration in preterm infants. ใน ศิราภรณ์ สวัสดิวร และจริยา วิทยะศุภร (บ.ก.), การประชุมวิชาการนมแม่ครั้งที่ 7 The 7th National Breastfeeding Conference: Scaling up & Learning more (น. 171-172). กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิศูนย์นมแม่แห่งประเทศไทย.
ธานินทร์ พิรุณเนตร. (2563). COVID & Breastfeeding in the time of COVID-19. ใน ศิราภรณ์ สวัสดิวร และจริยา วิทยะศุภร (บ.ก.), การประชุมวิชาการนมแม่ครั้งที่ 7 The 7th National Breastfeeding Conference: Scaling up & Learning more (น. 224-227). กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิศูนย์นมแม่แห่งประเทศไทย.
นิศาชล เศรษฐไกรกุล และชมพูนุท โตโพธิ์ไทย. (2562). สถานการณ์การให้บริการของพยาบาลนมแม่ในสถานพยาบาลของประเทศไทย. วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข, 13(4), 368-382.
พรนภา ตั้งสุขสันต์. (2554). การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในสตรีตั้งครรภ์. วารสารพยาบาลสาธารณสุข, 25(3), 103-119.
ฟองคำ ติลกสกุลชัย, สุดาภรณ์ พยัคฆเรือง และศศิธารา น่วมภา. (2561). แนวปฏิบัติการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ Evidence-based Guidelines for Breastfeeding. กรุงเทพมหานคร: คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.
ภิเศก ลุมพิกานนท์. (2561). หญิงไทยผ่าคลอดสูงอันดับ 2 ของเอเชียรองจากจีนเร่งรณรงค์ลดผ่าคลอดที่ไม่จำเป็น. สืบค้นจาก https://www.hfocus.org/content/2018/02/15385
มูลนิธิศูนย์นมแม่แห่งประเทศไทย. (2561). บันได 10 ขั้นเพื่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่สำหรับลูกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อยและเด็กป่วย. สืบค้นจาก https://library.thaibf.com/handle/023548404.11/480
วีณา จีระแพทย์ และเกรียงศักดิ์ จีระแพทย์. (2563). กลวิธีสู่ความสำเร็จในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ Strategies for Successful Breastfeeding. กรุงเทพมหานคร: ธรรมดาเพรส.
ศศิกานต์ กาละ และรังสินันท์ ขาวนาค. (2559). การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในมารดาหลังคลอดที่ทารกป่วย. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์, 36(ฉบับพิเศษ), 196-208.
ศศิธารา น่วมภา, พรนภา ตั้งสุขสันต์, วาสนา จิติมา และกันยรักษ์ เงยเจริญ. (2563). การนวดเต้านมเพื่อส่งเสริมและแก้ไขปัญหาการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่: การปฏิบัติพยาบาลตามหลักฐานเชิงประจักษ์. วารสารพยาบาลศาสตร์, 38(3), 4-21.
ศิริลักษณ์ ถาวรวัฒนะ และณัฐญดา พรหมจินดา. (2563). Integrated breast massage: Japanese breast massage and TBML. ใน ศิราภรณ์ สวัสดิวร และจริยา วิทยะศุภร (บ.ก.), การประชุมวิชาการนมแม่ ครั้งที่ 7: The 7th National Breastfeeding Conference: Scaling up & Learning more (น. 42). กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิศูนย์นมแม่แห่งประเทศไทย.
ศิริลักษณ์ ถาวรวัฒนะ. (2563). Breastfeeding Sick Babies: The Challenges. ใน ศิราภรณ์ สวัสดิวร และจริยา วิทยะศุภร (บ.ก.), การประชุมวิชาการนมแม่ครั้งที่ 7: The 7th National Breastfeeding Conference: Scaling up & Learning more (น. 130-131). กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิศูนย์นมแม่แห่งประเทศไทย.
สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี. (2560). รายงานประจำปี 2560. สืบค้นจาก http://www.children hospital.go.th/html/2014/sites/default/files/annual60.pdf
สุเนตรา แก้ววิเชียร, ศิริลักษณ์ ถาวรวัฒนะ, วรรณี จันทร์มาศ, สุกัญญา แสงตุ่น และสุพัตรา ทาอ้อ. (2562). การพัฒนารูปแบบการสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในทารกแรกเกิดคลอดก่อนกำหนดที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดภาวะวิกฤตของสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี. วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, 30(2), 141-158.
สุภาภรณ์ ปิติพร. (2563). Galactagogue : Herbs, Cookies etc. ใน ศิราภรณ์ สวัสดิวร และจริยา วิทยะศุภร (บ.ก.), การประชุมวิชาการนมแม่ครั้งที่ 7: The 7th National Breastfeeding Conference: Scaling up & Learning more (น. 178-188). กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิศูนย์นมแม่แห่งประเทศไทย.
สุสัณหา ยิ้มแย้ม. (2561). สมุนไพรที่กระตุ้นการผลิตน้ำนมแม่. พยาบาลสาร, 45(1), 133-140.
อุษา วงศ์พินิจ. (2558). บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวก่อนจำหน่ายจากโรงพยาบาล. วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย, 8(1), 24-32.
Boerma, T., Ronsmans, C., & Melesse, D. Y. (2018). Global epidemiology of use of and disparities in caesarean section. Lancet, 392, 1341-1348.
Gibertoni, D., Corvaglia, L., Vandini, S., Rucci, P., Savini, S., Alessandroni, R., & Faldella, G. (2015). Positive effect of human milk feeding during NICU hospitalization on 24 month neurodevelopment of very low birth weight infants: An Italian cohort study. Retrieved from https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC4295863/
Hesti, K. Y., Pramono, N, Wahyuni, S., Widyawati, M. U., & Santoso, B. (2017). Effect of combination of breast care and oxytocin massage on breast milk secretion in postpartum mothers. Belitung Nursing Journal, 3(6), 784-790.
Kangkan, T., Sangperm, P., & Wichiencharoen K. (2014). Effect of nipple stimulation program on mothers breast–milk volume of preterm infants. Kuakarun Journal of Nursing, 21 (Suppl), 205-218.
Maffiei, D., Brewer, M., Codipilly, C., Weinberger, B., & Schanler, R. J. (2020). Early colostrum administration in preterm infants. Journal of Perinatal Medicine, 40, 284-287.
Moore, E. R., Bergman, N., Anderson, G. C., & Medley, N. (2016). Early skin-to-skin contact for mothers and their healthy newborn infants Cochrane Database Systematic Reviews. Retrieved from https://www.cochranelibrary.com/cdsr/doi/10.1002/14651858pub4/full
Spatz D., L. (2018). Beyond BFHI: the Spatz 10-step and breastfeeding resource nurse models to improve human milk and breastfeeding outcomes. The journal of Perinatal & Neonatal Nursing, 32(2), 164-174.
Walker, T., Keene, S., Patel, R. (2014). Early feeding factors associated with exclusive versus partial human milk feeding in neonates receiving intensive care. Journal of Perinatology, 34(8), 606-610.
World Health Organization. (2020). WHO statement on caesarean section rates. Retrieved from https://www.who.int/reproductivehealth/publications/maternal_perinatal_ health/cs-statement/en/