นวัตกรรมกับผู้บริหารการพยาบาลในยุคเทคโนโลยีที่พลิกโฉม

ผู้แต่ง

  • วรัทยา กุลนิธิชัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา
  • พัชราภรณ์ อารีย์ รองศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยคริสเตียน
  • เนตรชนก ศรีทุมมา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยคริสเตียน

คำสำคัญ:

นวัตกรรม, ผู้บริหารการพยาบาล, ยุคเทคโนโลยีที่พลิกโฉม

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อชี้ให้เห็นแนวคิดนวัตกรรมกับผู้บริหารการพยาบาลในยุคเทคโนโลยีที่พลิกโฉม และความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนวัตกรรมสำหรับผู้บริหารการพยาบาล ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญอย่างมากสำหรับผู้บริหารการพยาบาลในการสนับสนุนการบริหารจัดการทางการพยาบาลให้มีคุณภาพ เพื่อผลลัพธ์การดำเนินงานภายในองค์กรในยุคเทคโนโลยีที่พลิกโฉมได้อย่างมีประสิทธิภาพ การบริหารจัดการนวัตกรรมในยุคเทคโนโลยีที่พลิกโฉมใช้หลักการบริหารจัดการใน 3 ระดับได้แก่ ระดับบุคคล ระดับกลุ่ม และระดับองค์กร ร่วมกับการส่งเสริมสมรรถนะผู้บริหารการพยาบาลในยุคเทคโนโลยีที่พลิกโฉม 3 ด้าน ได้แก่ ด้านความรู้เกี่ยวกับนวัตกรรม ด้านทักษะและความสามารถในการเป็นผู้นำด้านนวัตกรรม และด้านการพัฒนาคุณลักษณะของผู้บริหารการพยาบาลในยุคเทคโนโลยีที่พลิกโฉม ซึ่งหากผู้บริหารในองค์กรการพยาบาล มีคุณลักษณะดังกล่าวนี้แล้วคาดว่าจะสามารถบริหารจัดการต่อการเปลี่ยนแปลงในยุคเทคโนโลยีที่พลิกโฉมได้อย่างรวดเร็วและทันท่วงที อันจะทำให้เกิดผลลัพธ์การดูแลผู้รับบริการที่มีประสิทธิภาพ ส่งผลต่อความสำเร็จของหน่วยงานและองค์กรได้ตามมา

References

มรกต จันทร์กระพ้อ และกฤษดา เชียรวัฒสุข. (2562). การสร้างองค์การแห่งนวัตกรรมเพื่อขับเคลื่อนสู่ความเป็นเลิศขององค์การ. วารสารนักบริหาร, 39(1), 53-66.

ลำพู สนั่นเอื้อ. (2560). องค์ประกอบของภาวะผู้นำนวัตกรรมทางการพยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพที่โรงพยาบาลเฉพาะทางมะเร็ง เขต 4 กรมการแพทย์ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยคริสเตียน, จังหวัดนครปฐม

สุชาติ ไตรภพสกุล และชาคริต พิชญางกูร. (2563). การจัดการนวัตกรรม. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุนทรีกรณ์ ทองไสย. (2559). พยาบาลกับการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี, 27(1), 112-119.

อิริยาพร อุดทาและอริชัย อรรคอุดม. (2560). กลยุทธ์การสื่อสารสุขภาพออนไลน์ผ่านสื่อเฟซบุ๊กของโรงพยาบาลพญาไท. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, 5(2), 146-156.

Boston-Fleischhauer, C., (2015). Disruptive Innovation. Journal of Nursing Administration, 45(10), 469-470.

Brysiewicz, P., Hughes, T. L. & McCreary, L. L. (2015). Promoting Innovation in Global Nursing Practice. Rwanda Journal Series F: Medicine and Health Sciences, 2(2), 41-45.

Cambridge Business English Dictionary. (2019). Disruptive Technology. Retrieved from https://dictionary.cambridge.org/dictionary/english/

Coccia, M. (2017). Disruptive Technologies and Competitive Advantage of Firms in Dynamic Markets, SSRN Electronic Journal, Retrieved from htts://www.researchgate.net/publication

_Disruptive_Technologies_and_Competitive_Advantage_of_Firms_in_Dynamic_Markets

Compton, W. C., & Hoffman, E. (2013). Positive Psychology: The Science of Happiness and Flourishing. (2nd ed). United States of America: Wadsworth Cengage Learning.

Dawson, P & Andriopoulos, C. (2014). Managing change, creativity and innovation. Los Angeles: SAGE.

Goodman, M., & Dingli, S. M. (2017). Creativity and strategic innovation management. (2nd ed). Abingdon, Oxon; New York: Routledge.

Herrmann, M. Boehme, P., Mondritzki, T, Ehlers, J. P., Kavadias, S., & Truebel, T. H. (2018). Digital Transformation and Disruption of the Health Care Sector: Internet-Based Observational Study. Journal of Medical Internet Research, 20(3), e104.

Kaya, N., Turan, N & Aydin, G. O. (2015). A Concept Analysis of Innovation in Nursing. Procedia-Social and Behavioral Science. 195, 1674-1678.

Marquis, B. L. & Huston, C. J. (2017). Leadership Roles and Management Functions in Nursing: Theory and Application. (9th ed). Lippincott Williams and Wilkins: Philadelphia.

Muehlhausen, J. (2013). Business models for dummies. Hoboken, N.J.: John Wiley & Sons.

Story, P. (2011). Dynamic capacity management for health care: advanced methods and tools for optimization. Boca Raton: CRC Press.

Tidd, J. and Bessant, J. (2014). Strategic innovation management. Hoboken: Wiley.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-01-26