การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลในการป้องกันภาวะสับสนเฉียบพลันของผู้ป่วยวิกฤต

ผู้แต่ง

  • อรัญญา ศรีหาวงษ์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ งานการพยาบาลผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลเพ็ญ อ.เพ็ญ จ.อุดรธานี

คำสำคัญ:

แนวปฏิบัติทางการพยาบาล, การป้องกันภาวะสับสนเฉียบพลันของผู้ป่วยวิกฤต

บทคัดย่อ

     การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและประเมินผลแนวปฏิบัติการพยาบาลในการป้องกันภาวะสับสนฉับพลันของผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลเพ็ญ กลุ่มตัวอย่างผู้ได้รับ CPG-PDC ดำเนินการระหว่างเดือนระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ. 2564 – เมษายน พ.ศ. 2565 จำนวน 52 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ CPG-PDC และแบบบันทึกอุบัติการณ์การเกิดภาวะสับสนเฉียบพลัน ข้อมูลทั่วไปใช้สถิติเชิงพรรณนา ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Independent t-test และ Multivariable risk difference regression

     ผลการวิจัย พบว่า CPG-PDC มีสาระสำคัญ 6 หมวด คือ 1) การพิทักษ์สิทธิของผู้ป่วยและจริยธรรม 2) การประเมินปัจจัยเสี่ยงและเฝ้าระวังภาวะสับสนเฉียบพลัน โดยการประเมินปัจจัยเสี่ยงจากโปรแกรมประยุกต์ และจากเครื่องมือ (CAM-ICU) 3) การป้องกันภาวะสับสนเฉียบพลัน ใช้มาตรการรูปแบบไม่ใช้ยา Care bundle  ABCDEF 4) การให้ความรู้แก่บุคลากรทีมสุขภาพ 5) การติดตามดูแลอย่างต่อเนื่องและการบันทึก และ6) การพัฒนาคุณภาพบริการ เมื่อใช้CPG-PDC จำนวน 52 ราย พบว่า มีอุบัติการณ์การเกิดภาวะสับสนเฉียบพลันลดลงเหลือเพียง 15 ราย (ร้อยละ 14.20) และระยะเวลาผู้ป่วยเกิดอุบัติการณ์การเกิดภาวะสับสนเฉียบพลัน เฉลี่ยลดลงเหลือ 0.9 เวรต่อราย

References

Arend, E. & Christensen, M. (2009). Delirium in the intensive care unit: ฟ review. Nursing in Critical Care, 14(3), 145–154.

Hayhurst, C. J., Pandharipande, P. P., & Hughes, C. G. (2016). Intensive care unit delirium: a review of diagnosis, prevention, and treatment. Anesthesiology, 125(6), 1229–1241. doi: 10.11096IEEESTD.2007.4299432

Maldonado, J. R. (2008). Delirium in the acute care setting: Characteristics, diagnosis and treatment. Critical Care Clinics, 24(4), 657–722.

Van Rompaey, B., Elseviers, M. M., Schuurmans, M. J., Shortridge-Baggett, L. M., Truijen, S., & Bossaert, L. (2009). Risk factors for delirium in intensive care patients: A prospective cohort study. Critical Care (London, England), 13(3), R77.

Van, R. B., Schuurmans, M. J., Shortridge-Baggett, L. M., Truijen, S., & Bossaert, L. (2008). Risk factors for intensive care delirium: A systematic review. Intensive & Critical Care Nursing, 24(2), 98–107.

Sadock B J, Sadock V A.(2007). Delirium, dementia and amnestic and other cognitive bdisorders. In: Sadock BJ, Sadock VA, editors. Kaplan&Sadock,s synopsis of Psychiatry:behavioral sciences/clinical Psychiatry. 10th ed. Philadelphia, PA: Lippincott Williams&Wilkins;. p. 319-72.

Bourgeois J A, Seaman J S, Servis M E.(2013). Delirium dementia and amnestic and other cognitive disorders The American Psychiatric Publishing textbook of psychiatry: American Psychiatric Association 2008 [2013 Jan 17]. 5th:[

Tabet, N., & Howard, R. (2006). Prevention, diagnosis and treatment of delirium: Staff educational approaches. Expert Review of Neurotherapeutics, 6(5), 741–751.

Bourne, R. S. (2008). Delirium and use of sedation agents in intensive care. Nursing in Critical Care, 13(4), 195-202.

Boot, R. (2012). Delirium: a review of the nurse role in the intensive care unit. Intensive & Critical Care Nursing, 28(3), 185–189.

Brummel, N. E. & Girard, T. D. (2013). Preventing delirium in the intensive care unit. Critical care Clinics, 29(1), 51-65.

Arend, E. & Christensen, M. (2009). Delirium in the intensive care unit: ฟ review. Nursing in Critical Care, 14(3), 145–154

Pun BT, Ely EW.(2007). The importance of diagnosing and managing ICU delirium. Chest. Aug;132(2):624-36.

King, J., & Gratrix, A. (2009). Delirium in intensive care. Continuing Education in Anaesthesia, Critical Care & Pain, 9(5), 144–147.

จินตนา สินธุสุวรรณ์. ปัจจัยทำนายภาวะสับสนฉับพลันในผู้สูงอายุที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยศัลยกรรมออร์โธปิดิกส์. [วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพยาบาลผู้สูงอายุ].กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์; 2553.

National Health and Medical Research Council. (1999). A guideline to the development, implementation and evaluation of clinical practice guideline. Canberra: Commonwealth Australia.

นภัสภรณ์ ดวงแก้ว.(2554). ประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกสำหรับการ ป้องกันท่อช่วยหายใจเลื่อนหลุดในหอผู้ป่วยหนักอายุร กรรมโรงพยาบาลลำปาง. เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2554

Joanna Briggs Institute. (2013). New JBI levels of evidence. Retrieved from https://joannabriggs.org/assets/docs/approach/JBILevels-of evidence_2014.pdf

สุภาวดี เอี่ยมธนะสินชัย.(2556). ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกบการเกิดภาวะสับสนฉับพลันในผู้ป่วยอายุรกรรมที่รับไว้รักษาใน โรงพยาบาล. วารสารการแพทย์ โรงพยาบาลศรีสะเกษ สุรินทร์ บุรีรัมย์.; 28(3)

วีรศักดิ์ เมืองไพศาล. ภาวะซึมสับสนฉับพลัน.(2557). ใน: วีรศักดิ์ เมืองไพศาล (บรรณาธิการ). การจัดการภาวะฉุกเฉิน สำหรับผู้สูงอายุ. พิมพ์ครั้งที่1. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-04-30