ความเครียดและความวิตกกังวลในสถานการณ์โควิด 19 ของสตรีตั้งครรภ์ที่มารับบริการฝากครรภ์ ณ คลินิกฝากครรภ์ โรงพยาบาลศรีสะเกษ
คำสำคัญ:
ความเครียด, ความวิตกกังวล, สตรีตั้งครรภ์, สถานการณ์โควิด 19บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความเครียดและความวิตกกังวลในสถานการณ์โควิด 19 ของสตรีตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ ณ คลินิกฝากครรภ์ โรงพยาบาลศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ
รูปแบบและวิธีวิจัย การศึกษาเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่างเป็นสตรีตั้งครรภ์ที่มารับบริการฝากครรภ์ ณ คลินิกฝากครรภ์โรงพยาบาลศรีสะเกษ ระหว่างเดือนมีนาคม พ.ศ. 2566 ถึงเดือน มิถุนายน พ.ศ. 2566 จำนวน 207 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม 4 ส่วนคือ ส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคลทั่วไป ส่วนที่ 2 ข้อมูลการตั้งครรภ์และข้อมูลการได้รับวัคซีนโควิด 19 ส่วนที่ 3 ข้อมูลเกี่ยวกับการประเมินความเครียดในสถานการณ์เชื้อไวรัสโควิด 19 และส่วนที่ 4 ข้อมูลเกี่ยวกับความวิตกกังวลต่อไวรัสโควิด 19 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการศึกษา พบว่าสตรีตั้งครรภ์มีความเครียดอยู่ในระดับต่ำร้อยละ 67.63 ระดับปานกลางร้อยละ 32.37 โดยไม่พบความเครียดในระดับสูง และมีความวิตกกังวลอยู่ในระดับปานกลางร้อยละ 69.08 ระดับต่ำร้อยละ 30.09 โดยไม่พบความวิตกกังวลในระดับสูง
References
กรมควบคุมโรค. (2565). แนวทางเวชปฏิบัติ การวินิจฉัยดูแลรักษาและป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาลกรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19).ฉบับปรับปรุง.
อาคม ทิวทอง.(2565).ความชุกและปัจจัยที่สัมพันธ์กับความเครียดและความวิตกกังวลต่อ COVID-19 ในผู้ที่มาเข้ารับบริการทางการแพทย์ที่แผนกผู้ป่วยนอก อำเภอเมือง มหาสารคาม.วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม,19(2), 197-212
สุกัญญา เอกปัญญาสกุล.(2564).ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความวิตกกังวลจากการรับรู้ข่าวสารเกี่ยวกับ COVID –19 ในประชากร เขตกรุงเทพมหานคร.;
กาญจนา ศรีสวัสดิ์, ชุติมา ปัญญาพินิจนุกูร.(2559). ความเครียดในหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น.วารสารพยาบาลทหารบก, 17(2), 7-12
ราชวิลัยสูติ.อัตราการตายมารดาไทย-(MMR)-ตุลาคม-64---สิงหาคม-65.pdf.สืบค้นเมื่อ 17/09/2565
Paula R. Pietromonaco, Nickola C. Overall. Implications of social isolation, separation,and loss during the COVID-19 pandemicfor couples's relationship. Current opinionin Psychology 2022. 43:189-94.
ณรงค์ศักดิ์ หนูสอน.(2563).หลักการส่งเสริมสุขภาพ.PRINCIPLE OF HEALTH PROMOTIONสำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ยาใจ สิทธิมงคล.(2561).การพยาบาลจิตเวชศาสตร์.(ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1).พิมพ์ครั้งที่ 3.กรุงเทพมหานคร. บริษัท สแกนอาร์ต จำกัด.
ณัชชา วรรณนิยม.(2565).การเปลี่ยนแปลงทางจิตสังคมของสตรีตั้งครรภ์.ใน การพยาบาลมารดา-ทารกและการผดุงครรภ์:ระยะตั้งครรภ์.นครราชสีมา.บริษัท สมบูรณ์การพิมพ์.จำกัด
Blackmore Carina ,Jennifer N. Lind, Emily E. Petersen, Philip A. Lederer, Ghasi S. Phillips-Bell, Cria G. Perrine, Ruowei Li, Mark Hudak, Jane A. Correia,6 Andreea A. Creanga, William M. Sappenfield, John Curran, Sharon M. Watkins, and Suzanne Anjohrin. Infant and Maternal Characteristics in Neonatal Abstinence Syndrome 2015 Mar 6; 64(8): 213–216
กรมอนามัย,2564 สืบค้นเมื่อ 19/09/2565https://ww.amh.go.th/covid19/pnews/
ชลธิลา ราบุรี,อุมาภรณ์ กั้วสิทธ์ิ,รำไพ เกตุจิระโชติ.(2564).ปััจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับความเครียดในสตรีตั้งครรภ์ ที่มีภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดขณะพักรักษาในโรงพยาบาล.Princess of Naradhiwas University Journal, 14(3), ๒๖๗-๒๘๑
Diane Szulecki,postpartum depression mother.AJN July 2021;121 (7):23
สุพัตรา อันทรินทร์, ตติรัตน์ เตชะศักดิ์ศรี, วรรณทนา ศุภสีมานนท์.(2563).ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเครียดของสตรีที่มีภาวะเบาหวาน ขณะตั้งครรภ์.วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 28(1), 12-25
https:// dmh.go.th/covid19/test/covid19/แบบคัดกรองความกังวลต่อไวรัส COVID-19 สืบค้น 28-11-2022
https://dmh.go.th/news-dmh/view.asp?id=30849 นพ.สุริยเดว ทรีปาตี.แบบประเมินความเครียดในสถานการณ์เชื้อไวรัส COVID-19 สืบค้น 28-11-2022
บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
Pia Tohme, Rudy AbiHabib,Elma Nassar,Nouran Hamed,Gaël AbouGhannam,ihadE Chalouhi.
The Psychological Impact of the COVID-19 Outbreak on Pregnancy and Mother-infant Prenatal Bonding. Maternal and Child Health Journal (2022) 26:2221–2227
กรมควบคุมโรค. (2566). โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (moph.go.th)
ศริญญา จริงมาก.(2564).สุขภาพจิตและจิตเวช.(ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 2).อุดรธานี. ศักดิ์ศรีอักษรการพิมพ์.
สุจรรยา โลหะชีวะ.(2566).การเผชิญความเครียดในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรมา 2019.วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย, 15(1), 1-11
กัณฐพร พงษ์แพทย์, ดวงหทัย ศรีสุจริตและเนตรนภิศ จินดากร.(2562).ความเครียดในสตรีที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์และบทบาทพยาบาลผดุงครรภ์.วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้,6(3), 133-143
Amy Leigh Rathbone , Julie Prescott , Duncan Cross .Pregnancy in a pandemic: generalised anxiety disorder and health anxiety prevalence. British Journal of Midwifery, 2021, 29 (8)440-447
Sabanci Baransel, Karatas Okyay, Sabanci Baransel.Pregnancy and Anxiety in the COVID-19
Pandemic: A Comparative Web-Based Study. International Journal of Caring Sciences. 2022 ; 15 (1) 467-478
ปิ่นอนงค์ พิมพ์สุวรรณ, ฉวี เบาทรวง,นันทพร แสนศิริพันธ์.(256๓). ความวิตกกังวลเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ ความรู้ภาวะเสี่ยง และการรับรู้ภาวะเสี่ยงจากการตั้งครรภ์ในสตรีตั้งครรภ์อายุมาก. Nursing Journal, 4(3), 50-60
เขมจิรา ท้าวน้อย, วรรณี เดียวอิศเรศและวรรณทนา ศุภสีมานนท์.(2561).ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความวิตกกังวลของหญิงตั้งครรภ์ที่เคยสูญเสียบุตร. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 26 (4), 51-60.
เมทิกา ใหม่หลวงกาศ.(2565). สถานการณ์ของหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อไวรัสโคโรมา 2019 และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรุนแรงของโรค การคลอด และทารกแรกเกิด เขตสุขภาพที่ 2วารสารวิชาการป้องกันควบคุมโรค สคร.2 พิษณุโลก.
พัชรินทร์ เงินทอง และคณะ.(2564). คำแนะนำในการคลอดแลสตรีในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอดและหลังคลอดระหว่างการแพร่ระบาดโควิด-19 :การทบทวนวรรณกรรมแบบกำหนดขอบเขต. วารสารพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยสยาม, 22 (42), 10-25
รัตนาภรณ์ นิวาศานนท์, ภัทรพร อรัณยภาค และวารุณี เพไร.(2565).ความรู้ พฤติกรรมการดูแลตนเองและผลกระทบทางจิตใจของสตรีตั้งครรภ์ในสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด -19 (COVID-19).วารสารพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, 24(46), 34-47
แผ จันทร์สุข.(2565). ในการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต(ฉบับปรับปรุง) เล่ม 1.กรุงเทพมหานคร. บริษัท ธนาเพรส จำกัด.