ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยนอกโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลนาคู จังหวัดกาฬสินธุ์

ผู้แต่ง

  • ประกาศิต ภักดี เภสัชกรชำนาญการ โรงพยาบาลนาคู

คำสำคัญ:

ความร่วมมือในการใช้ยา, โรคความดันโลหิตสูง, คุณภาพชีวิตการใช้ยา

บทคัดย่อ

     การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจโดยศึกษาแบบภาคตัดขวาง (Survey research by Cross-Sectional Study) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความร่วมมือในการใช้ยาและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยนอกโรคความดันโลหิตสูง เป็นการศึกษาเชิงวิเคราะห์แบบภาคตัดขวาง กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 300 คน สุ่มตัวอย่างอย่างง่าย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามคุณภาพชีวิตการใช้ยา PROMPT-QoL และแบบประเมินความร่วมมือในการใช้ยา วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และการถดถอยพหุคูณ ด้วยวิธี Stepwise กำหนดระดับนัยสำคัญที่ 0.05

ผลการวิจัยพบว่า ความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงอยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 52.67  คุณภาพชีวิตการใช้ยา PROMPT-QoL ของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (gif.latex?\bar{x}=142.41, S.D.=9.94) ปัจจัยด้านความพึงพอใจต่อผลของการใช้ยา และการลืมรับประทานยามีอิทธิพลต่อความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

References

ชมพูนุท พัฒนจักร. (2558). ความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยสูงอายุโรคเรื้อรังในเขตพื้นที่บริการ โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบลลาดพัฒนา อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม. วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม, 16(3), 13-22.

ทัณฑิภา เรืองทิพย์, ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ, วิชชุดา เจริญกิจการ และฉัตรกนก ทุมวิภาต. (2560). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความร่วมมือในการรับประทานยาของผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง. วารสารแพทย์นาวี, 3(44), 51-63.

ทศพร แสงทองอโณทัย และพรรณทิพา ศักดิ์ทอง. (2560). ผลของการบริบาลทางเภสัชกรรมต่อคุณภาพชีวิตด้านการบำบัดด้วยยาในผู้ป่วยนอก. https://he01.tci-thaijo.org/index.php/TJPP/article/view/169826

ปิยพร ใจซื่อ และพรรณทิพา ศักดิ์ทอง. (2563). ผลของการใช้แบบประเมินคุณภาพชีวิตด้านการใช้ยาต่อการสื่อสาร ระหว่างเภสัชกรกับผู้ป่วยและความพึงพอใจของผู้ป่วย. https://he01.tci-thaijo.org/index.php/TJPP/article/view/243453

พุทธชาติ ฉันทภัทรางกูร. (2566). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยนอก โรค เบาหวาน ชนิดที่ 2 และ ความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. เภสัชกรรมคลินิก, 29(1), 13-24.

ระบบคลังข้อมูลสุขภาพ Health Data Center (HDC). (2566 โรงพยาบาลนาคู สืบค้นจาก https://hdcservice.moph.go.th/hdc/reports/report.php?source=pformated/format1.php&cat_id=b2b59e64c4e6c92d4b1ec16a599d882b&id=9702fa28cd2ec73ecc6af89d14f46874เมื่อวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2566

วิชัย เอกพลากร. (2564). การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 6 พ.ศ. 2562-2563. นนทบุรี: อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซด์.

วิภาพร มั่นปาน, & พรรณทิพาศักดิ์ทอง. (2558). คุณภาพชีวิตการใช้ยาในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ณ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า. Royal Thai Army Medical Journal, 68(2), 51-60.

Bloom, Benjamin S., et al. (1971). Handbook on Formative and Summative Evaluation of Student Learning. New York: McGraw-Hill Book Company

Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607-610..

Limpawattana, P., & Manjavong, M. (2021). The Mini-Cog, clock drawing test, and three-item recall test: rapid cognitive screening tools with comparable performance in detecting mild NCD in older patients. Geriatrics, 6(3), 91.

Singh, S., Shankar, R., & Singh, G. P. (2017). Prevalence and Associated Risk Factors of Hypertension: A Cross-Sectional Study in Urban Varanasi. International journal of hypertension, 2017, 5491838. https://doi.org/10.1155/2017/5491838

Tanukaew, D., Watanakijkrilert, D., Sriyuktasuth, A., & Chattranukulchai, P. (2022). ปัจจัยทำนาย ความร่วมมือในการใช้ยาในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ. Thai Red Cross Nursing Journal, 15(1), 127-143.

Tarantino, V., Cappellari, G., Cardaioli, C., Rumiati, R., Savadori, L., Barilli, E., & Bisiacchi, P. S. (2010). Sociocognitive factors associated with nonadherence to medication after hospital

discharge. Behavioral Medicine, 36(3), 100-107

Unger, T., Borghi, C., Charchar, F., Khan, N. A., Poulter, N. R., Prabhakaran, D., ... & Schutte, A. E. (2020). 2020 International Society of Hypertension global hypertension practice guidelines. Hypertension, 75(6), 1334-1357.

Yang, Q., Chang, A., Ritchey, M. D., & Loustalot, F. (2017). Antihypertensive medication adherence and risk of cardiovascular disease among older adults: a population‐based cohort study. Journal of the American Heart Association, 6(6), e006056.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-31

How to Cite

ภักดี ป. (2023). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยนอกโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลนาคู จังหวัดกาฬสินธุ์. วารสารอนามัยสิ่งแวดล้อมและสุขภาพชุมชน, 8(3), 928–935. สืบค้น จาก https://he03.tci-thaijo.org/index.php/ech/article/view/1867