การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ป่วยที่มีอาการหายใจลำบากในผู้สูงอายุโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังในชุมชน อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์
คำสำคัญ:
การพัฒนาคุณภาพชีวิต, ผู้สูงอายุ, โรคปอดอุดกั้นเรื้อรังบทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพัฒนา (Research and Development มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ป่วยที่มีอาการหายใจลำบากในผู้สูงอายุโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังในชุมชน กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไปและแพทย์วินิจฉัยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ดำเนินการวิจัย วันที่ 1 ตุลาคม 2563 –30 กันยายน 2565 เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป ความรู้ พฤติกรรม ประเมินการพัฒนาคุณภาพชีวิต (WHOQOL – BREF) และ แบบประเมินความพึงพอใจ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา การทดสอบ pared t-test
ผลการศึกษา พบว่า การส่งเสริมพัฒนาความรู้ เรื่องโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง เรื่องสุขภาพผู้สูงอายุ เรื่องการดูแลตนเอง มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05, t =12.3, 11.9, 12.43) 2) พฤติกรรมการดูแลตนเอง ด้านอารมณ์ ด้านการออกกำลังกาย ด้านการบริหารปอด มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05, t =7.72, 5.27, 1.99) 3) การพัฒนาคุณภาพชีวิต ด้านจิตใจ และ ด้านสิ่งแวดล้อม มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05, t =6.6, 6.8) 4) ความพึงพอใจด้านการดูแลรักษา และด้านสุขภาพตนเองมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05, t =5.1, 6.1)
References
สุณี เลิศอุดมสิน. (2553). แนวทางการบริบาลผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ใน สุณี เลิศอุดมสิน(บรรณาธิการ). การบริบาลผู้ป่วยโรคหืด โรคโพรงจมูกอักเสบภูมิแพ้ และโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (หน้า 143-145). ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา.
Honig, E. G., Roland, C. A., & Ingram, R. H. (2001). Chronic bronchitis emphysema and airways Obstruction. In E. Braunald., A. S. Fauci, D. L. Kasper., D. L. Longo, & Jamerson, J. L.(Eds.) Harrison’s Principles of International Medicine (5th ed., pp. 1491-1499).New York: McGraw-Hill.3.
สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล. (2551). มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพฉบับเฉลิมพระเกียรติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี. นนทบุรี: ดีวัน.
วัชรา บุญสวัสดิ์. (2553). โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง. ใน สุณี เลิศสินอุดม (บรรณาธิการ). การบริบารผู้ป่วยโรคหืด โรคโพรงจมูกอักเสบภูมิแพ้ และโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (หน้า 118-126). ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา.
โรงพยาบาลนามน. รายงานศูนย์ฐานข้อมูลสุขภาพ อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์. (2564) สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดกาฬสินธุ์ 2564
Joanna Briggs Institute [JBI]. (2008). Systematic Reviews: Level of Evidence and Grade of Recommendations. Retrived July 18, 2009, from http://www.joannabriggs.edu.au
ดารารัตน์ จันทา สิริมาศ ปิยะวัฒนพงศ์ และ สมรภพ บรรหารักษ์. ภาพสุขภาพจิตสังคมผู้สูงอายุโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่เข้ารับการรักษาในคลินิกโรคหืด และโรคถุงลมโป่งพอง โรงพยาบาลศรีนครินทร์. เอกสารการประชุมวิจัยบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 20 มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 15 มีนาคม 2562; 932-942.
ปัทมาพร ชนะมาร. การพัฒนาโปรแกรมการจัดการตนเองของผู้สูงอายุโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง.วารสารการพยาบาลการสาธารณสุขและการศึกษา.2561;19(1): 61-72.
จิรัชญา ดอนชัย. ผลของการสอนตามหลักของพิตส์เพื่อส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อการจัดการตนเองในผู้สูงอายุโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง. วิจัยฉบับสมบูรณ์ : พยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต สาขา สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2566.
อรสา ปิ่นแก้ว วารี กังใจ และ สหัทยา รัตนจรณะ. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพา.2564;29(2): 59-70.
กันตพร ยอดใชย์ และ ผาณิกา ทองสง. ผลของโปรแกรมส่งเสริมภาวะโภชนาการต่อพฤติกรรมสุขภาพด้านโภชนาการและภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่มีภาวะขาดสารอาหาร.วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์.2563;39(4): 1-15.
จิราพร รักษายศ และ ศิริเพ็ญ สิทธิบรรณ์. ผลของรปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังในคลินิกคนรักษ์ปอดโรงพยาบาลสมเดจพระยุพราชฉวางวารสารวิชาการสาธารณสุข.2556;22(6): 974-978.
พิมพ์ฐดา วัฒนพงศ์สถิต. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความเข้มแข็งอดทนของผู้สูงอายุโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง.วารสารวิทยาลัยบรมราชชนนีกรุงเทพ.2559;32(3): 24-36.