การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ ทีมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงขณะตั้งครรภ์ในชุมชน : กรณีศึกษา

ผู้แต่ง

  • รุ่งฤดี เพ็งวิชัย พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชกระนวน

คำสำคัญ:

หญิงตั้งครรภ์, โรคเบาหวาน, การพยาบาลผู้ป่วยเบาหวานขณะตั้งครรภ์

บทคัดย่อ

     การศึกษานี้เป็นกรณีศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ ที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงขณะตั้งครรภ์ในชุมชน โดยการเปรียบเทียบกรณีศึกษา 2 ราย   ใช้แนวคิดการจัดการรายกรณี แบบแผนสุขภาพของกอร์ดอน แนวคิดการมีส่วนร่วมในชุมชน  การเยี่ยมบ้าน INHOMESS เป็นกรอบในการศึกษา   เลือกแบบเฉพาะเจาะจง กระบวนการ 6 ขั้นตอนของการจัดการรายกรณี ของ pawell  ในหญิงตั้งครรภ์ที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงขณะตั้งครรภ์ ที่เข้ารับบริการที่ งานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชกระนวน   เก็บข้อมูลจากเวชระเบียน สัมภาษณ์ผู้ป่วยและญาติ ร่วมกับการสังเกต กำหนดข้อวินิจฉัยการพยาบาล วางแผน ปฏิบัติการพยาบาลและประเมินผลลัพธ์ทางการพยาบาล วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหาโดยการเปรียบเทียบกรณีศึกษา 2 ราย

     ผลการศึกษา :  กรณีศึกษาที่ 1 มารดา G2P1A0L1 with previous c/s with GDMA2 วินิจฉัยเป็นเบาหวานอายุครรภ์ 9 สัปดาห์ 1  วัน   ฝากครรภ์ 15 ครั้งครบเกณฑ์คุณภาพ ผลเลือด2 ครั้งปกติ  ผ่าตัดคลอด ทารกเพศหญิง น้ำหนัก3,230 กรัม APGAR score 8-9-9  สามารถลดยาเบาหวานได้  กรณีศึกษาที่ 2  หญิงตั้งครรภ์  G2P1A0L1with GDMA1 อายุครรภ์ 11สัปดาห์ ฝากครรภ์ จำนวน 12 ครั้งครบเกณฑ์คุณภาพ ผลเลือด2 ครั้งปกติ  ผ่าตัดคลอดจากปากมดลูกไม่เปิด 1 กย 66ทารกเพศหญิง น้ำหนัก 3210 กรัม APGAR score 8-10-10 ควบคุมอาหาร ไม่มีภาวะเบาหวานหลังคลอด  กรณีศึกษาทั้ง 2 ราย  ประเมินผลลัพธ์ที่คล้ายคลึงกัน มีการเฝ้าระวังและติดตามการพยาบาลในชุมชนแบบมีส่วนร่วมของครอบครัวอย่างใกล้ชิด จนสามารถคลอดบุตรได้อย่างปลอดภัย ไม่พบภาวะแทรกซ้อนของมารดาและทารกหลังคลอดและกรณีศึกษาทั้ง 2 รายติดตามเยี่ยมหลังคลอด 6 สัปดาห์  รายที่1    ตรวจ 75 gm ogtt postpartum สูงวินิฉัยว่าเป็นเบาหวานรับการรักษา รายที่2 ผลปกติ ไม่มีภาวะเบาหวานหลังคลอด

References

กรฐณธัช ปัญญาใส พิชามญชุ ภูเจริญ, ณิชกมล เปียอยู่.การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง.วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้าจันทบุรี2560;28(1):51-62.

กาญจนา ศรีสวัสดิ์, อรพินท์ สีขาว. การดูแลหญิงที่เป็นโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์. วารสารพยาบาลทหารบก 2557:15(2):50-9.

วลัยลักษณ์ สุวรรณภักดี, มลิวัลย์ บุตรดำ, ทัศณีย์ หนูนารถ, เบญจวรรณ ละหุการ. ภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์ : บทบาทพยาบาลกับการดูแล. ราชาวดีสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุรินทร์ 2562;9(2):100-13.1.

บุญสืบ โสโสม, เกศแก้ว วิมนมาลา, เยาวดี สุวรณนาคะ,จุฬารัตน์ ห้าวหาญ. การส่งเสริมความรอบรู้ทางสุขภาพ:การดูแลที่จำเป็นสำหรับหญิงตั้งครรภ์เบาหวานในยุคโควิด-19.วารสารแพทย์นาวี 2564:48(1):224-40.

บุญชม ศรีสะอาด. การแปลผลเมื่อใช้เครื่องมือรวบรวมข้อมูลแบบมาตราส่วนประมาณค่า. วารสารวัดผลการศึกษา 2539;2(1):64-70.

พรวิจิตร ปานนาค, สุทธิพร มูลศาสตร์, เชษฐา แก้วพรม.ประสิทธิผลของโปรแกรมการพัฒนาความฉลาดทางสุขภาพของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ ตำบลบางวัว อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข 2560:27(3):91-106.

แสงดาว แจ้งสว่าง, สุพิศ ศิริอรุณรัตน์, ตติรัตน์ เตชะศักดิ์ศรี.ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของสตรีที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 2563 : 28 (3):79-89.

Pirdehghan A, Eslahchi M, Esna-Ashari F,Borzouei S. Health literacy and diabetescontrol in pregnant women. J Family MedPrim Care 2020;9(2):1048-52. doi: 10.4103/jfmpc.jfmpc_891_19.

กนกวรรณ ฉันธนะมงคล. (2559). การพยาบาลสตรีที่มีโรคร่วมกับการตั้งครรภ์.กรุงเทพ: ส.เจริญ การพิมพ์.

กาญจนา ศรีสวัสดิ์ และอรพินท์ สีขาว. (2557) การดูแลหญิงที่เป็นโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์.วารสารพยาบาลทหารบก, 15(2), 50-59.

จุฑาพงศ์ เตชะสืบ วราภรณ์ บุญเชียงและรังสิยา นารินทร์. (2563). การพัฒนารูปแบบการดูแลโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนสำหรับผู้ที่เป็นเบาหวาน. พยาบาลสาร ปีที่ 47 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน พ.ศ. 2563 หน้า111-121.

ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ศิริราช พยาบาล. (2550). แนวทางการตรวจคัดกรองและวินิจฉัยโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ในโรงพยาบาลศิริราช. กรุงเทพฯ : ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล.

มานี ปียะอนันต์ และคณะ. (2558). ตำราสูติศาสตร์. กรุงเทพฯ : พี.เอ.ลีฟวิ่ง.

สายลม เกิดประเสริฐ. (2560) การพยาบาลสตรีที่มีภาวะความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์ ในเพิ่มศักดิ์ สุเมฆศรี, นาเรศ วงศ์ไพฑูรย์, พจนีย์ ผดุงเกียรติวัฒนา, และณัฐฐิณี ศรีสันติโรจน์ (บ.ก.), ก้าวหน้า ไปด้วยกันเพื่อการบริบาลปริกำเนิด 4.0 (น. 129 -134). กรุงเทพฯ: เนี่ยน ครีเอชั่น

สุนันทา ยังวนิชเศรษฐ. (2558). การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเบาหวาน. ใน เยาวเรศ สมรัพย์,บรรณาธิการ. การผดุงครรภ์ เล่ม 1. สงขลา: หาดใหญ่; เบสท์เซลล์ แอนด์เซอร์วิส.

American Diabetes Association. (2012). Standards of Medical Care in Diabetes care 2009. Brussels:International Diabetes Federation.

Kendrick JM. (2011). Screening and diagnosing gestational diabetes mellitus revisited: implications from HAPO. J Perinat Neonatal Nurs, 25(3), 226-32.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-31

How to Cite

เพ็งวิชัย ร. (2023). การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ ทีมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงขณะตั้งครรภ์ในชุมชน : กรณีศึกษา. วารสารอนามัยสิ่งแวดล้อมและสุขภาพชุมชน, 8(3), 558–564. สืบค้น จาก https://he03.tci-thaijo.org/index.php/ech/article/view/2016