การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะกลาง : กรณีศึกษา

ผู้แต่ง

  • นุชรินทร์ พลบำรุง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลหนองเรือ จังหวัดขอนแก่น

คำสำคัญ:

โรคหลอดเลือดสมอง , การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะกลาง

บทคัดย่อ

     การศึกษานี้เป็นกรณีศึกษา วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาเปรียบเทียบกรณีศึกษาการพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะกลางและได้แนวทางในการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะกลางของโรงพยาบาลหนองเรือจังหวัดขอนแก่น โดยเลือกกรณีศึกษา จากแนวคิดการจัดการรายกรณี แนวคิดทางการพยาบาลของโอเร็ม กระบวนการพยาบาล 5 ขั้นตอน กรอบแนวคิดแบบแผนสุขภาพของกอร์ดอน เป็นกรอบในการศึกษา คัดเลือกกรณีศึกษาแบบเฉพาะเจาะจงที่เข้ารับบริการที่ตึกผู้ป่วยในหญิง โรงพยาบาลหนองเรือ จังหวัดขอนแก่น  ระหว่างวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2565 - 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 เก็บข้อมูลจากการสถานการณ์สถิติโรงพยาบาล ปรึกษาทีมสุขภาพ ศึกษาจากข้อมูลเวชระเบียน แบบการสัมภาษณ์ญาติและการสังเกต แบบประเมิน ADL  แบบติดตามเยี่ยมบ้าน คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง การวิเคราะห์ข้อมูลวิธีวิเคราะห์เปรียบเทียบ ติดตามเยี่ยมบ้าน 1 ครั้งทางโทรศัพท์ สรุปและประเมินผลลัพธ์ทางการพยาบาล

     ผลการศึกษา : กรณีศึกษาผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะกลาง  2 รายดีขึ้นจำหน่ายกลับบ้านได้เร็วขึ้นติดตามเยี่ยมบ้านพบว่า ญาติและผู้ป่วยสามารถดูแลต่อที่บ้านได้ ไม่มีภาวะแทรกซ้อน ระดับADL ดีขึ้นจากเดิม

References

ปรมาภรณ์ คลังพระศรี. (2562). การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดต้นที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือด: กรณีศึกษา2 ราย. วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม, 17(3), 119-130.

พรทิพย์รตา สุขรื่นบุลภรณ์. (2564). การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่บ้าน. วารสารวิชาการและการพยาบาลวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีจักรีรัช, 1(2), 113-129.)

มณฑา สอนดา. (2563). กรณีศึกษาการพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดสมองที่บ้าน. วารสารวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ, 13(2),327-333.

มาดี เหลืองทองเจริญ. (2564). การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่มีภาวะโรคร่วม: กรณีศึกษาเปรียบเทียบ. วารสารวิจัยเพื่อการส่งเสริมสุขภาพและคุณภาพชีวิต, 2(1), 74-85.

มินตรา ธรรมกุล. (2564). การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบในชุมชน: กรณีศึกษา 2 ราย. วารสารวิจัยเพื่อการส่งเสริมสุขภาพและคุณภาพชีวิต, 1(2), 64-76.

วิมลพร ศรีโชติ, นัทธมน วุทธานนท์, ชวพรพรรณ จันทร์ประสิทธิ์ และชมพูนุช ศรีรัตน์. (2563). การสนับสนุนผู้ดูแลในการดูแลผู้ป่วยที่เป็นโรคหลอดเลือดสมอง: กรณีศึกษา.พยาบาลสาร, 48(3), 274-289.

ศีตภา พลแก้ว. (2562). การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบระยะท้าย: กรณีศึกษา 2 รายวารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม, 17(2), 230-239.

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล โภชนาการสำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ฝ่ายโภชนาการ รพ.ศิริราช Faculty of Medicine Siriraj Hospital คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล สืบค้น วารสารออนไลน์วันที่ 6 กันยายน 2560 https://www.si.mahidol.ac.th/th/healthdetail.asp?aid=1298

Hu, L., & Liu, G. (2021). Effects of early rehabilitationnursing on neurological functions and quality of lifeof patients with ischemic stroke hemiplegia.American Journal of Translational Research, 13(4),3811.

Rohde D, Gaynor E, Large M, Conway O, Bennett K,Williams DJ, Callaly E, Dolan E, Hickey A. Strokesurvivor cognitive decline and psychologicalwellbeing of family caregivers five years post-stroke: a cross-sectional analysis. Top StrokeRehabil. 2019;26:180-186.

Sedova, P., Brown, R. D., Zvolsky, M.., Belaskova, S.,Volna, M., Baluchova, J.,... & Mikulik, R. (2021).

Incidence of stroke and ischemic stroke subtypes: acommunity-based study in Brno, Czech Republic.Cerebrovascular Diseases, 50(1), 54-61.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-31

How to Cite

พลบำรุง น. (2023). การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะกลาง : กรณีศึกษา. วารสารอนามัยสิ่งแวดล้อมและสุขภาพชุมชน, 8(3), 646–652. สืบค้น จาก https://he03.tci-thaijo.org/index.php/ech/article/view/2026