การพัฒนาระบบระบายอากาศห้องทันตกรรมสำหรับยูนิตทำฟันในห้องปิดและห้อง ทั่วไปโรงพยาบาลสกลนคร
คำสำคัญ:
ห้องทันตกรรม, ยูนิตทำฟันบทคัดย่อ
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ มีวัตถุประสงค์เพื่อ พัฒนาระบบระบายอากาศห้องทันตกรรมสำหรับยูนิตทำฟันในห้องปิดและห้องทั่วไปโรงพยาบาลสกลนคร และเพื่อศึกษาผลการพัฒนาพัฒนาระบบระบายอากาศห้องทันตกรรมสำหรับยูนิตทำฟันในห้องปิดและห้องทั่วไปโรงพยาบาลสกลนคร เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบบันทึก แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลฃโดยใช้สถิติพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ
ผลการวิจัย 1) ห้องทันตกรรมสำหรับยูนิตทำฟันในห้องปิดและห้องทั่วไปโรงพยาบาลสกลนคร ได้แก่ ยูนิตทำฟันในห้องปิด จำนวน 1 ห้อง ยูนิตทำฟันในห้องทั่วไป Type B จำนวน 13 ห้อง ได้รับการพัฒนา คิดเป็นร้อยละ 100 2) การประเมินผลการพัฒนาระบบระบายอากาศห้องทันตกรรมสำหรับยูนิตทำฟันในห้องปิดและห้องทั่วไป โรงพยาบาลสกลนคร พบว่า จำนวนผู้มารับบริการทันตกรรม เพิ่มขึ้น 54.17 % จำนวนผู้มารับบริการที่ได้รับบริการอุดฟัน เพิ่มขึ้น 43.83 % จำนวนผู้มารับบริการที่ได้รับบริการขูดหินปูน เพิ่มขึ้น 42.40 % อัตราความพึงพอใจของผู้มารับบริการทันตกรรม เพิ่มขึ้น 8 % อัตราความพึงพอใจของทันตบุคลากร 100%
References
กรมการแพทย์ (2020). แนวทางปฏิบัติการรักษาทางทันตกรรมในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค COVID-19 30 มีนาคม 2563. https://covid19.dms.go.th/Content/Select_Landding_page?contentId=32 (Accessed: 8 July 2020)
กรมการแพทย์ (2020). แนวทางปฏิบัติการรักษาทางทันตกรรมในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค COVID-19 14 พฤษภาคม 2563. https://covid19.dms.go.th/Content/Select_Landding_page?contentId=72 (Accessed: 8 July 2020)
Dan Brennan, MD. 2022.Surface Cleaning and COVID-19: What You Should Know. https://www.webmd.com/covid/how-long-covid-19-lives-on-surfaces. (Accessed:30 Dec 2022)
กองแบบแผน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. แบบปรับปรุงหอผู้ป่วยเพื่อรองรับผู้ป่วยติดเชื้อ COVID-19 [อินเทอร์เน็ต]. 7 ธ.ค. 2563 [สืบค้นเมื่อ 30 มี.ค. 2564]. แหล่งข้อมูล: https://dcd.hss.moph.go.th/web/attachments/article/476/071220_100828.pdf
กองแบบแผน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. ปรับปรุงระบบปรับอากาศและระบายอากาศห้องทันตกรรมเพื่อรองรับผู้ป่วย COVID-19 เอกสารเลขที่ ก.44/เม.ย./63 [อินเทอร์เน็ต]. 22 พ.ค. 2563 [สืบค้นเมื่อ 30 มี.ค. 2564]. แหล่งข้อมูล: https://hss.moph.go.th/fileupload_doc/2020-05-22-1-20-52081364.pdf
กองแบบแผน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. ปรับปรุงระบบปรับอากาศและระบายอากาศห้องทันตกรรมเพื่อรองรับผู้ป่วย COVID-19 เอกสารเลขที่ ก.45/เม.ย./63 [อินเทอร์เน็ต]. 4 มิ.ย. 2563 [สืบค้นเมื่อ 30 มี.ค. 2564]. แหล่งข้อมูล: https://hss.moph.go.th/fileupload_doc/2020-06-04-1-20-52081444.pdf
Centers for Disease Control and Prevention. Interim Infection Prevention and Control Guidance for Dental Settings During the COVID-19 .2020 May 3 [สืบค้นเมื่อ 2021 Aug 30]. แหล่งข้อมูล: https://www.cdc.gov/coronavirus/2019-ncov/hcp/dental-settings.html
วุฒิไกร กันทะสอน. การศึกษาคุณภาพอากาศภายใน กรณีศึกษา: โรงพยาบาลพญาไทศรีราชา [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ]. มหาวิทยาลัยศรีปทุม; 2551. 73 หน้า
World Health Organization. Transmission of SARS-CoV-2: implications for infection prevention precautions [Internet]. 2020 July 9 [สืบค้นเมื่อ 2021 Aug 30]. แหล่งข้อมูล: https://www.who.int/news-room/commentaries/detail/transmission-of-sars-cov-2-implications-for-infection-prevention-precautions