ผลของโปรแกรมเสริมสร้างความเข้มแข็งทางใจและแรงสนับสนุนทางสังคมเพื่อป้องกันพฤติกรรมเสี่ยง ทางเพศสัมพันธ์ในวัยรุ่นตำบลนาคูณใหญ่ อำเภอนาหว้า จังหวัดนครพนม
คำสำคัญ:
โปรแกรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ, วัยรุ่นบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ศึกษาการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมเสริมสร้างความเข้มแข็งทางใจและแรงสนับสนุนทางสังคมเพื่อป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศสัมพันธ์ในวัยรุ่น เป็นการวิจัยกึ่งทดลองวัดก่อนและหลังการทดลองแบบมีกลุ่มควบคุม สุ่มตัวอย่างอย่างง่ายกลุ่มละ 38 คน กลุ่มทดลองเข้าร่วมโปรแกรม 12 สัปดาห์ ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการให้สุขศึกษาจากหน่วยบริการปกติ ดำเนินระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2566-มีนาคม 2567 ประเมินการเปลี่ยนแปลงทัศนคติ การรับรู้บรรทัดฐานกลุ่ม การรับรู้การกำกับพฤติกรรมตนเอง การได้รับแรงสนับสนุนทางสังคมและพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศสัมพันธ์ด้วยแบบสอบถามชนิดถามตอบด้วยตนเอง วิเคราะห์ข้อมูลเป็นจำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ยภายในกลุ่มด้วยสถิติ Parried t-test และระหว่างกลุ่มด้วย Independent t-test พร้อมประมาณช่วงเชื่อมั่นร้อยละ 95 ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีอายุเฉลี่ยในกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีอายุเฉลี่ย 17.1 ปี และ 17.0 ปี ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีสถานภาพโสดเป็นส่วนใหญ่ การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเป็นส่วนใหญ่ ครอบครัวส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ทั้งหมดมีที่พักอาศัยเป็นบ้านตัวเอง ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทุกวันร้อยละ 47.7 และ 50.0 ตามลำดับ
References
Chandra-Mouli, V., Ferguson, B.J., Plesons, M., Paul, M., Chalasani, S., Amin, A., Pallitto, C., Sommers, M. , Avila,, R., Biaukula, K.V. & Husain ,S. The political, research, programmatic, and social responses to adolescent sexual and reproductive health and rights in the 25 years since the International Conference on Population and Development. J Adolesc Health. 2019;1(65):s6-40.
สำนักงานสถิติ. การสัมมะโนประชากรไทย 2564 [Internet]. 2021. Available from: http://www.nso.go.th/sites/2014/Pages/pop.aspx, Accessed 30 Dec 2021
The Human Journey. Adolescence: Second Growth Spurt [Internet]. 2022 [cited 2022 Aug 12]. Available from: https://humanjourney.us/health-and-education-in-the-modern-world-section/adolescence-second-growth-spurt/
Centers for Disease Control and Prevention. Sexual risk behaviors: HIV, STD, & teen pregnancy prevention [Internet]. 2016 [cited 2022 Aug 15]. Available from: http://www.cdc.gov/healthyyouth/yrbs/pdf/us_overview 2016
WHO. Adolescents: health risks and solutions [Internet]. 2016 [cited 2021 Jun 15]. Available from: www.who.int/mediacentre/factsheets/fs345/en
กลุ่มอนามัยเด็กวัยเรียนวัยรุน สํานักสงเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. รายงานการสํารวจภาวะสุขภาพนักเรียนในประเทศไทย พ.ศ. 2564. นนทบุรี: มินนี่กรุ้ป; 2564.
สถาบันวิจัยประชากรและสังคม, มหาวิทยาลัยมหิดล. สุขภาพคนไทย 2563 : สองทศวรรษ ปฏิรูปการศึกษาไทย ความล้มเหลวและความสำเร็จ. กรุงเทพมหานคร: อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พลับลิชิ่ง; 2563.
Koniak,-Griffin, .D. & Stein, J.A. Predictors of sexual risk behaviors among adolescent mothors in a human immunodeficiency virus prevention program. J Adolesc Health. 2006;38(297):e1-11.
กนกพร ต่ายคณอง สุพัฒนา คำสอนและนงพินิล นิมิตรอานันท์. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจที่จะมีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของนักเรียนชั้นมัธยม. วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน. 2554;17(1):168–77.
ชลลดา ไชยกุลวัฒนา, ชณิตา ประดิษฐ์สถาพรและแววดาว คำเขียว. ปัจจัยทำนายพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่น จังหวัดพะเยา. วารสารการพยาบาลและการศึกษา. 2556;6(ฉบับพิเศษ):104–15.
Ndagijimana, E., Biracyaza, E. & Nzayirambaho,M. Risky sexual behaviors and their associated factors within high school students from Collège Saint André in Kigali, Rwanda: An institution-based cross-sectional study. Front Reprod Health. 2023;5(1029465):e1-11.
ปัญญ์กรินทร์ หอยรัตน์และปราโมทย์ วงสวัสดิ์. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการมีเพศสัมพันธ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา. วารสารวิจัยสุขภาพและการพยาบาล. 2563;36(1):149–63.
Chokprajakchad, M. & Phuphaibul, R. Sexual health interventions among early adolescents: an integrative review. J Health Res. 2018;32(6):467–77.
Abrams, R., Nordmyr , J.and Forsman, A.K. Promoting sexual health in schools: a systematic review of the European evidence. Front Public Health. 2023;11(1193422):1–11.
รัสวรรณ แสนคำหมื่น รุจา ภู่ไพบูลย์และอัจฉริยา ปทุมวัน. ผลของโปรแกรมกระตุ้นการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศต่อทัศนคติ การรับรุ้บรรทัดฐานกลุ่ม การรับรู็การควบคุมพฤติกรรมและความตั้งใจละเว้นการมีเพศสัมพันธ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข. 2564;31(2):195–208.
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. ปิรามิดประชากร ตำบลนาคูณใหญ่ ปี 2563 [Internet]. 2565. Available from: https://dashboard.anamai.moph.go.th/dashboard/populationpyramid/tambon?year=2020&tb=480904
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาคูณใหญ่. รายงานการเฝ้าระวังความเสี่ยงในวัยรุ่นตำบลนาคูณใหญ่ อำเภอนาหว้า จังหวัดนครพนม 2565. นครพนม: โรงพยาบาลส่งเสร้มสุขภาพตำบลนาคูณใหญ่ (เอกสารอัดสำเนา); 2565.
Chow, S-C., Shao, J., Wang, H., Lokhnygina, Y. Sample Size Calculations in Clinical Research. 3rd ed. New York: Chapman and Hall/CRC; 2017.
Ajzen, I. The Theory of planned behavior. Organ Behav Hum Decis Process. 1991;50(2):179–211.
House, J.S. Work stress and social support. Reading, M.A.: Addison-Wesley; 1981.
Ajzen, I. The theory of planned behavior. Organ Behav Hum Decis. 1991;(50):179–211.
House, J. S. Work Stress and Social Support. Reading, Mass: Addison-Wesley; 1981.
Allen, M. S., Vella, S. A., & Laborde, S. Health-related behavior and personality trait development in adulthood. J Res Personal. 2015;59:104–10.
Lippke, S., Nigg, C. R., & Maddock, J. E. Health-promoting and health-risk behaviors: Theory-driven analyses of multiple health behavior change in three international samples. Int J Behav Med. 2012;19(2):1–13.
Armitage, J. & Conner, M. Efficacy of the Theory of Planned Behaviour: a meta-analytic review. Bristish J Psychol. 2001;40(4):471–99.
Conner, M., & Norman, P. The role of social cognition in health behaviours. Res Pract Soc Cogn Models. 1996;22:1–22.
อนุชิตา อายุยืน, ปัณณทัต บนขุนทด, ถาวรีย์ แสงงาม, กิตติพงษ์ เรือนเพชรและคณะ. ประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษาที่มีต่อทัศนคติในการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยง ทางเพศของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วารสารการแพทย์โรงพยาบาลศรีสะเกษ สุรินทร์ บุรีรัมย์. 2565;37(3):669–77.
สุทธิวรรณ อร่วมเรือง. ประสิทธิผลของการประยุกต์ใช้ทฤษฎีพฤติกรรมตามแผนในการจัดโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรในนักเรียนหญิงระดับชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 2 อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร [วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑฺิต]. บัณฑฺตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร; 2565.
Hershey, D. & Henkens, K. Impact of different types of retirement transition on perceived satisfaction with life. Gerontologist. 2013;54:233–44.
Ajzen, I. Constructing a theory of planned behavior questionnaires [Internet]. 2010 [cited 2022 Feb 12]. Available from: https://people.umass.edu/aizen/pdf/tpb.measurement.pdf
Atkins, R. Self-efficacy and the promotion of health for depressed single mothers. Ment Health Fam Med. 2010;7:155–68.
Ferlander, S. The Importance of Different Forms of Social Capital for Health. Acta Sociol. 2007;50(2):115–28.
Bruederly, A., Delaney-Moretlwe, S. Mmari, K. & Brahmbhatt, H. Social Support and Its Effects on Adolescent Sexual Risk Taking: A Look at Vulnerable Populations in Baltimore and Johannesburg. J Adolesc Health. 2019;64(1):56–62.
ฐิติมา โกศัลวิตร, กัญญารัตน์ กันยะกาญจน,, สุทธพงษ์ สทธิลักษมุนีกุลและขนิษฐา หล้ามาชน. ผลของโปรแกรมสุขศึกษาโดยประยุกต์ทักษะชีวิตร่วมกับแรงสนับสนนทางส ุ ังคม ในการพัฒนาพฤติกรรมการป้องกันโรคเอดส์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 2 จังหวัดอุบลราชธานี. J Ratchathani Innov Health Sci. 2017;1(1):45–663.
ชัชนัย ติยะไทธาดาและพรรณี บรรชรหัตกิจ. ผลของโปรแกรมสุขศึกษาโดยการประยุกต์ใช้ทฤษฎีแรงจูงใจเพื่อป้องกันโรคร่วมกับ แรงสนับสนุนทางสังคมเพื่อการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศและการป้องกัน การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. ศรีนครินทร์เวชสาร. 2556;28(2):146–54.