ความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่อด้านสุขภาพและพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออก ของประชาชนแขวงอัตตะปือสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
คำสำคัญ:
ความเชื่อด้านสุขภาพ, พฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออก, ประชาชนลาวบทคัดย่อ
การวิจัยเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวางครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเชื่อด้านสุขภาพในการป้องกันโรคไข้เลือดออก พฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออก และความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่อด้านสุขภาพกับพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออก เก็บรวบรวมข้อมูลกับประชาชนแขวงอัตตะปือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว จำนวน 558 คน โดยใช้แบบสอบถามวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าสูงสุด ค่าต่ำสุด ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และหาความสัมพันธด้วยสถิติคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธแบบเพียรสัน (Pearson Product–Moment Correlation Coefficient)
ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความเชื่อด้านสุขภาพในการป้องกันโรคไข้เลือดออกระดับปานกลาง (Mean= 3.65, SD= 0.27) พฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกระดับปานกลาง (Mean= 2.82, SD= 0.61) และความเชื่อด้านสุขภาพในการป้องกันโรคไข้เลือดออกมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r=0.365, p-value <0.001)
References
แขนงระบาดวิทยา, แผนกสาธารณสุขแขวงอัตตะปือ, 2023
ณัฐยา สุนัติ และคณะ. ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกของประชาชน ในอำเภอเกาะช้าง จังหวัดตราด. วารสารสาธารณสุข มหาวิทยาลัยบูรพา. 2564; 6:53-67
ดอกแก้ว ตามเดช และคณะ. ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกของประชาชน ตำบลป่าแฝก อำเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา. วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานีคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 2564; 10(2):97-107
ธนันญา เส้งคุ่ย. ปัจจัยที่มีความสำคัญกับพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกของประชาชนในตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา. มหาวิทยาลัยทักษิณ, 2565
นภารัตน์ อู่เงิน. ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกของหัวหน้าครัวเรือนกลุ่มชาติพันธุ์ ตาบลป่ากลาง อาเภอปัว จังหวัดน่าน. มหาวิทยาลัยนเรศวร. 2564
นรินทร์ กระจายกลาง. ความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่อด้านสุขภาพกับพฤติกรรมในการป้องกันโรคไข้เลือดออก ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนรัฐในอาเภอเมือง จังหวัดชลบุรี. มหาวิทยาลัยบูรพา, 2559
บุญประจักษ์ จัทนร์วิน. ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้กับพฤติกรรมป้องกันโรคไข้เลือดออกของประชาชน ในอำเภอที่มีอัตราป่วยสูง จังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสารวิชาการสาธารณสุขชุมชน, 2564; 7(4):72-72
พิชยารัตน์ จันทร์เพ็ญ และคณะ. ความรอบรู้ด้านสุขภาพกับพฤติกรรมการควบคุม และป้องกันโรคไข้เลือดออกของประชาชนในเขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร. Journal of The Royal Thai Army Nurses, 2565,23(2): 78-87
คม ยิบประดิษฐ์. ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพกับพฤติกรรมการป้องกัน โรคไข้เลือดออกของประชาชนในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางตะบูน อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี. วารสารวิชาการเพื่อการพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิและสาธารณสุข, 2567 2(1):1-14
วันทนา ขยันการนาวี. ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกของประชาชนในพื้นที่แนวป่าห้วยขาช้าง อำเภแลนสัก จังหวัดอุทัยธานี. มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2563,14(2)
วีรพงษ์ ชมภูมิ่ง. การรับรู้และพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออก ของประชาชนในอำเภอสอง จังหวัดแพร่. วารสารวิชาการป้องกันควบคุมโรค สคร.2 พิษณุโลก, 2562, 6(3):3 48-60
ศิรินันท์ คำสี. ความเชื่อด้านสุขภาพกับพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกของประชาชน ตำบลปากน้ำ อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา. วารสารการแพทย์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ 2561, 25(2):1-11.
ศูนย์วิเคราะห์ และระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว, 2023
ศูนย์สถิติแขวง แขนงแผนการและการลงทุน แผนกสาธารณสุขแขวงอัตตะปือ. กระทรวงสาธารณสุข สปป.ลาว, 2023
อมลรดา รงค์ทอง และสุพัฒนา คำสอน. ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ของประชาชน อำเภอหนองฉาง จังหวัดอุทัยธานีวารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2561; 13(1):147-158
อำภรพรรณ ข้ามสาม. ความเชื่อด้านสุขภาพและพฤติกรรมการรับประทานยาของผู้ที่มีความดันโลหิตสูงในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลท่าข้าม อำเภอเมือง จังหวัดแพร่. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2558
Alidha Nur Rakhmani et al. Factors associated with dengue prevention behaviour in Lowokwaru, Malang, Indonesia: a cross-sectional study. BMC Public Health, 2018;193:110509
Ayuna Lintangsari. The Relationship between Perception of Dengue Hemorrhagic Fever and Prevention Behaviour in Sorogenen 2 Purwomartani Kalasan Sleman Yogyakarta. Ahmad Dahlan International Conference Series on Pharmacy and Health Science (ADICS-PHS 2019), 2019; 11:85-90
Becker, M.H.(1974). The health belief model and sick role behavior. Health Education Monographs, 2(4), 409-419.
Best, B.S. (1981) Handbook on Formative and Summative Evaluation of Study of Learning. New York: David Mackay,
Chanthaly Sayavong and et al. Knowledge, attitudes and preventive behaviors related to dengue vector breeding control measures among adults in communities of Vientiane, capital of the Lao PDR. Journal of Infection and Public Health, 2015, 8(5): 466-473
Cohen, J. (1977). Statistical power for the behavioral sciences (2nd ed). New York: Academic Press.
Devi Octaviana. Community Perception to Risk of Dengue Infection and Treatment Seeking Behaviour. Annals of Tropical Medicine and Public Health, 2019,22: 75-80
Dina Nurfarahin Mashudi. Level of dengue preventive practices and associated factors in a Malaysian residential area during the COVID-19 pandemic: A cross-sectional study. PLoS ONE. 2022,17(4)
Hinkle, D.E, William, W. and Stephen G. J. (1998). Applied Statistics for the Behavior Sciences. 4thed. New York : Houghton Mifflin.
Imam Hossain and et al. Knowledge, awareness and preventive practices of dengue outbreak in Bangladesh: A countrywide study. PLOS ONE, 2021, 16(6): e0252852
Iskandar Arfan, Ayu Rizky, Andri Dwi Hernawan. Factors associated with dengue fever prevention practices in endemic areas. International Journal of Public Health Science, 2022, 11(4):1184-1189
Josephine Rebecca Chandren et al. Practices of Dengue Fever Prevention and the Associated Factors among the Orang Asli in Peninsular Malaysia. PLOS Neglected Tropical Diseases, 2015,9(8): e0003954
Parbati Phuyal. The knowledge, attitude and practice of community people on dengue fever in Central Nepal: a cross-sectional study. BMC Infectious Diseases, 2022,22(1)
Sami Abdo Radman Al-Dubai. Factors Affecting Dengue Fever Knowledge, Attitudes and Practices Among Selected Urban, Semi-urban and Rural Communities in Malaysia. Southeast Asian J Trop Med Public Health, 2013
Tanvir Abir. Use of the Health Belief Model for the Assessment of Public Knowledge and Household Preventive Practices In Dhaka, Bangladesh, A Dengue-endemic city. Xi'an Jianzhu Keji Daxue Xuebao/Journal of Xi'an University of Architecture & Technology, 2020, 12: 2800-2815
World Health Organization (WHO). Dengue Situation, [Internet]. 2023 [cited 2023 August 03]. Available from: https://www.who.int/southeastasia/health-topics/dengue-and-severe-dengue