ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับโรคอ้วนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จังหวัดอุบลราชธานี

ผู้แต่ง

  • บัณฑิตา พัฒนี นักศึกษาหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
  • นิยม จันทร์นวล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

คำสำคัญ:

ความรอบรู้ด้านสุขภาพโรคอ้วน , พฤติกรรมการป้องกันโรคอ้วน, นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น

บทคัดย่อ

     การวิจัยเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวางครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับโรคอ้วนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จังหวัดอุบลราชธานี กลุ่มตัวอย่าง 334 คน สุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่มีค่าความเชื่อมั่นระหว่าง 0.76 – 0.83 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและหาความสัมพันธ์โดยใช้สถิติวิเคราะห์ถดถอยพหุโลจิสติกส์
     ผลการวิจัย พบว่า นักเรียนมีภาวะอ้วนร้อยละ 12.28 พฤติกรรมป้องกันโรคอ้วนระดับดีร้อยละ 51.2 ความรอบรู้ด้านสุขภาพโรคอ้วนอยู่ในระดับไม่เพียงพอร้อยละ 97.6 และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับโรคอ้วน ได้แก่ พันธุกรรม (ORadj = 3.1 , 95% CI: 1.56 – 6.17) และการตัดสินใจเลือกปฏิบัติ (ORadj = 0.37 , 95% CI: 0.18 – 0.75)

References

World Health Organization. (2018). “Taking Action on Childhood Obesity”, Word obesity.https://apps.who.int/iris/bitstream/handle/106 65/274792/WHO-NMH-PND-ECHO-18.1-eng.pdf. May 2, 2021.

Centers for Disease Control and Prevention. (2019). “Defining Adult Overweight and Obesity”, National Center for Health Statistics. https://www.cdc.gov /obesity/adult/defining.html. September 28, 2021

Karnik, S. and Kanekar, A. “Childhood obesity: a global public health crisis”, International Journal of Preventive Medicine. 3(1): 1–7; January, 2012.

World obesity. (2017). “Prevalence of child overweight, including obesity”, International Obesity Task Force.http://www.worldobesity.org/ data/aboutobesity. March 2, 2021.

เปรมฤดี ภูมิถาวร. (2560). “โรคเบาหวานในเด็กและวัยรุ่น”, นิตยสารวาไรตี้เพื่อสุขภาพ. https://med.mahidol.ac.th /atrama/issue030/health-station /png. 20 มีนาคม, 2565.

Ahmad Ali Zainuddin, Mala A Manickam, Azli Baharudin, Rusidah Selamat, Chee Cheong Kee, Noor Ani Ahmad, Hatta Mutalip, Rashidah Ambak, Siew Man Cheong, Mohamad Hasnan Ahmad, Safiah Md Yusof, and Tahir Aris. “Prevalence and Socio-Demographic Determinant of Overweight and Obesity among Malaysian Adult.” International Journal of Public Health Research. 6(1):661–69, 2016.

สำนักโภชนาการ. แนวทางการควบคุมป้องกันภาวะอ้วนในเด็กนักเรียน. นนทบุรี: องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก, 2557.

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี. (2564).“ร้อยละของนักเรียน ชั้น ม.1-ม.3 ที่มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนได้รับการคัดกรองความเสี่ยง เขตสุขภาพที่ 10 จังหวัดอุบลราชธานี ปีการศึกษา 2563”, ระบบสารสนเทศสนับสนุนงานส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม. https://ubn.hdc.moph.go.th/hdc/reports/report.php?source=pformated/format1.php&cat _id=67f8b 1657bc8c796274fb9b6ad5a701d&id=831c88ecc3dc0db28836a1e18d985cfe. 10 ธันวาคม, 2564.

สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย. (2562). “สถิติเบาหวาน”, โรคเบาหวานhttps://www.dmthai.org/ index.php/ knowledge/the-chart/the-chart-1. 20 พฤษภาคม, 2564.

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. (2562). “เด็กอ้วน น่ารักหรือน่าเป็นห่วง ?”, HITAP: โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ. https://www. hitap.net/175144. 14 ธันวาคม, 2563.

United Nations. (2015). “17 Goals to Transform the World for Persons with Disabilities”, Envision 2030. https://www.un.org/development/desa/ disabilities/Envision2030.html. March 10, 2021.

กรมอนามัย. (2557). “การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะด้านอาหารและโภชนาการ”, การพัฒนาคุณภาพอาหารเพื่อเด็กไทย. https://www.old.anamai.moph.go. th/ewt_news.php?nid=6554&filename=index. 14 ธันวาคม, 2564.

Wang, J.J., Gao, Y. and Lau, P.W.C. (2017). “Prevalence of overweight in Hong Kong Chinese children: Its associations with family, early-life development and behaviors-related factors”, Journal of exercise science and fitness. 15(2): 89–95; December, 2017.

สารภี จันทร์มุณี และสุชาดา นวนทอง. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะโภชนาการเกินของเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และ 6 ในอำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง. พัทลุง:สำนักงานสาธารณสุขอำเภอป่าบอน อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง, 2560.

สุภาวดี อรรคพัฒน์. ความสัมพันธ์ของปัจจัยส่วนบุคคล ครอบครัวและชุมชนกับภาวะอ้วนของเด็กวัยเรียนเขตพื้นที่การศึกษาที่ 2 จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต: มหาวิทยาลัยบูรพา, 2558.

ณัฐชยา พวงทอง และธนัช กนกเทศ. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะโภชนาการในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น กรณีศึกษาโรงเรียนมัธยมศึกษาแห่งหนึ่งในจังหวัดภาคกลาง ประเทศไทย. พิษณุโลก: คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2560.

กัลยาณี โนอินทร์. “ภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วนในวัยเรียนและวัยรุ่นไทย”, วารสารพยาบาลทหารบก. 18 (ฉบับพิเศษ): 1-18; พฤษภาคม-สิงหาคม, 2560.

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2564). “รู้เท่าทัน 10 ความเสี่ยงสุขภาพคนไทยปี 2564”, ทันกระแสสุขภาพ. http://www.thaihealth. or.th/Content/53817-รู้เท่าทัน 10 ความเสี่ยงสุขภาพคนไทย ปี 2564.html. 3 มีนาคม, 2564.

มณิภัทร์ ไทรเมฆ. “ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการบริโภคอาหารเช้ากับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน”, วารสารการจัดการธุรกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา. 4(2): 22–33; ตุลาคม, 2559.

กรมอนามัย. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ตามแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564). นนทบุรี: กระทรวงสาธารณสุข, 2559.

กองสุขศึกษา กรมส่งเสริมบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. รายงานผลการประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรม. นนทบุรี: กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข, 2560.

National Assessment of Adult Literacy. (2003). “The 2003 National Assessment of Adult Literacy (NAAL)”, Health Literacy. https://nces. ed.gov/naal/Health. asp. December 16, 2021.

Michou, M., Panagiotakos, D.B. and Costarelli, V. “Low health literacy and excess body weight: a systematic review”, Central European Journal of public health. 26(3): 234-241; September, 2018.

Mayagah Kanj, Wayne Mitic. Promoting Health and Development: Closing the Implementation Gap. World Health Organization: the Eastern Mediterranean Region, 2009.

Intarakamhang, U., & Intarakamhang, P. (2017). Health Literacy Scale and Causal Model of Childhood Overweight. Journal of Research in Health Sciences, 17(1), 368.

กรมอนามัย. (2564). “มาตรฐานน้ำหนักส่วนสูงเด็ก 0-18 ปี”, เกณฑ์อ้างอิงภาวะการเจริญเติบโตของเด็ก 6-19 ปี กรมอนามัย. http://doh.hpc.go.th/bs/issueDisplay.php?id=73&category=A11&issue=Child%20Deve lopment#a1. 20 สิงหาคม, 2564

มรกต สุวรรณการ. “สาเหตุทางพันธุกรรมของโรคอ้วน”, วารสารโภชนบำบัด. 29(1): 14-23; มกราคม - มิถุนายน, 2564.

จามจุรี แซ่หลู่ และนภาวรรณ วิริยะศิริกุล. “ความ สัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ด้านสุขภาพกับพฤติกรรมการป้องกันโรคอ้วนของเด็กวัยเรียนที่เริ่มอ้วนและอ้วนในโรงเรียน”, วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์. 7(11): 1-15; พฤศจิกายน, 2563.

อรพร ดำรงวงศ์ศิริ. (2563). “โรคอ้วนในเด็กความน่ารักที่แฝงด้วยอันตราย”, โรคอ้วนในเด็ก.https://www.rama.mahidol.ac.th/ramachannel/article/fat-kid/. 21 สิงหาคม, 2565

วิภารัตน์ สุวรรณไวพัฒนะ, จุภาพร ภิรมย์ไกรภักดิ์ และวิจิตรา นวนันทวงศ์. “ความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อป้องกันโรคอ้วนของเด็กวัยรุ่นตอนต้น”, วารสารเครือข่ายวิทยาลัย พยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้. 6(ฉบับพิเศษ): 80–90; พฤศจิกายน, 2562.

วลัยพร กาฬภักดี และคณะ. “ความรอบรู้ด้านสุขภาพเกี่ยวกับภาวะโภชนาการเกินของนักเรียนระดับประถม ศึกษาโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี”, วารสารสาธารณสุขล้านนา.18(1): 80-91; มกราคม-มิถุนายน, 2565.

ภัทรเดช เจียมสว่างพร. (2565). “สาเหตุการเกิดโรคอ้วน”, แนะคนอ้วนให้พบแพทย์ หากเกิดจากกรรมพันธ์ุต้องรักษา. https://www.khaosod.co.th/pr-news/ news_6829840.3 ธันวาคม, 2565.

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2562). “ห่วงภาวะอ้วน-เตี้ย ปัญหาเด็กวัยเรียน”, ข่าวสุขภาพ. http://www.thaihealth.or.th/Content/50891-ห่วงภาวะอ้วน-เตี้ย ปัญหาเด็กวัยเรียน.html. 29 พฤศจิกายน, 2564.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-04-30