ผลของโปรแกรมความรอบรู้ด้านสุขภาพในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด ในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น
คำสำคัญ:
โรคเบาหวาน, ความรอบรู้ด้านสุขภาพบทคัดย่อ
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรมแกรมความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ในการควบคุมค่าน้ำตาลสะสม กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 114 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 57 คน เครื่องมือที่ใช้ทดลอง คือโปรแกรม การส่งเสริมและพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ที่ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 3 ท่าน วิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติ ANCOVA with GEE
ผลการวิจัยพบว่า ผลการวิจัย พบว่า ภายหลังการทดลองกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนความรอบรู้ด้านสุขภาพ และพฤติกรรมสุขภาพ มากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบและก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.001) และมีระดับน้ำตาลในเลือดน้อยกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ (Meandiff. = 28.35, 95%CI 23.59 – 33.28, p-value=0.027
References
กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข และมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (2563). โปรแกรมสุขศึกษาเพื่อการเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงรายใหม่. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ 25 มีเดียร์ จำกัด.
กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. (2563). การเสริมสร้างและประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ. นนทบุรี: กระทรวงสาธารณสุข.
เพ็ญนภา ศรวิเศษ และ รุจิรา ดวงสงค์ (2566). ผลของโปรแกรมควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดโดยประยุกต์ใช้แนวคิดความรอบรู้ด้านสุขภาพและการสนับสนุนทางสังคมในผู้ป่วยเบาหวาน ชนิดที่ 2 ที่รักษาด้วยอินซูลิน คลินิกเบาหวาน โรงพยาบาลขอนแก่น. วารสารสุขศึกษา ฉบับที่1 ปีที่46.มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
อรุณ จิรวัฒน์กุล (2551). ชีวสถิติสำหรับงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ. ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. พิมพ์ครั้งแรก; หน้า 157 – 164.
Bloom et al., (1956). Taxonomy of educational objectives: The classification of educational goals. Handbook I: Cognitive domain. David McKay Company, New York (1956)
Bloom, B. S. (1968). Toward a theory of testing which includes measurement-evaluation-assessment (No. 9). University of California.
Best, J. W. (1977). Research in Education. New Jersey: Prentice hall Inc.
Tachavijitjaru C. Health Literacy: A key Indicator towards Good Health Behavior and Health Outcomes. Journal of the Royal Thai Army Nurses. 2018; 19(25):1-11.
จงรัก สุวรรณรัตน์ และ ธณกร ปัญญาใสโสภณ (2566). การพัฒนารูปแบบระบบความรอบรู้ด้าน สุขภาพต่อพฤติกรรมสุขภาพ และค่าน้ำตาลสะสมในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2. วารสารการพยาบาล.95-104.