ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุตำบลโพธิ์ใหญ่ อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี

ผู้แต่ง

  • สุคนธ์ทิพย์ อรุณกมลพัฒน์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโพธิ์ใหญ่ อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี
  • นุชจรินทร์ แก่นบุปผา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโพธิ์ใหญ่ อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี
  • พนาไพร โฉมงาม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโพธิ์ใหญ่ อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี
  • นัจจรินทร์ ผิวผ่อง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโพธิ์ใหญ่ อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี
  • ดวงกมล หน่อแก้ว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโพธิ์ใหญ่ อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี

คำสำคัญ:

ปัจจัย พฤติกรรม, การพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุ

บทคัดย่อ

     การวิจัยเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวางครั้งนี้มีวัตถุเพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุตำบลโพธิ์ใหญ่ อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี กลุ่มตัวอย่างคือผู้สูงอายุ จำนวน 430 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นระหว่างเดือน ตุลาคม 2566 – ธันวาคม 2566 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา นำเสนอโดยใช้ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน มัธยฐาน เปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 25 และ 75 ใช้สถิติเชิงอนุมานในการหาปัจจัยทำนายโดยใช้การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ
     ผลการวิจัย พบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อการพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุ ตำบลโพธิ์ใหญ่ อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี มีทั้งหมด 3 ปัจจัย ได้แก่ แรงสนับสนุนทางสังคม การรับรู้ความสามารถแห่งตน และการรับรู้โอกาสเสี่ยงของการพลัดตกหกล้ม โดยสามารถร่วมกันอธิบายความผันแปรของปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุตำบลโพธิ์ใหญ่ อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี ได้ร้อยละ 55.7 (R2=0.561, R2adj=0.557, SEest= 3.8428, F= 181.137, p < 0.001) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

References

กระทรวงสาธารณสุข, กรมอนามัย, คู่มือแนวทางการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการ การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ กรมอนามัย, 2562.

United Nations, Department of Economic and Social Affairs, Population Division. (2020). World Population Ageing 2019 (ST/ESA/SER.A/444). New York: United Nations.

กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย, ระบบสถิติทางการทะเบียน, สถิติจำนวนประชากรแยกรายอายุ.(ออนไลน์) 2566 (อ้างเมื่อ 13 กุมภาพันธ์ 2566). จาก: https://bluebook.anamai.moph.go.th/

สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย,2556รายงานการสำรวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย ปี 2556,สำนักส่งเสริมสุขภาพ กลุ่มอนามัยผู้สูงอายุ สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.โรงพิมพ์วัชรินทร์ พี.พี.

สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข.(2565).สรุปผลที่สำคัญการทำงานของผู้สูงอายุไทย ปี 2564.สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม.กองสถิติพยากรณ์สำนักงานสถิติแห่งชาติ.

กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย.(2566).ระบบสารสนเทศสนับสนุนด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมเขตพื้นที่รับผิดชอบ จำแนกตามความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน. (ออนไลน์) 2564(อ้างเมื่อ 13 กุมภาพันธ์ 2566).จาก:http://dashboard.anamai.moph.go.th/population/pop-all/changwat?year=2023&cw=33.

สำนักงานโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข , รายงานการพยากรณ์การพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุ(อายุ60ปีขึ้นไป)ใน ประเทศไทย ปี พ.ศ.2560-2564.

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี. ข้อมูลบริหารจัดการระบบสุขภาพผู้สูงอายุ(HDC).สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี.2566. สืบค้นวันที่ 1 กรกฎาคม 2566 https://ubn.hdc.moph.go.th/hdc/reports/report.php?&cat_id=6966b0664b89805a484d7ac96c6edc48&id=df0700e8e3c79802b208b8780ab64d61.

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโพธิ์ใหญ่ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอวารินชำราบ.ข้อมูลการบริหารจัดการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ 2566.สำนักงานสาธารณสุขอำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี.

Lemeshow S,. Howmer Jr DW., Klar J. and Lwanga SK. (1990). Adequacy of sample size in health studies. West Sussex : John Wiley & Sons Ltd.

บุณณดา โสพัฒน์.(2566).ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุอำเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ.วารสารวิจัยและพัฒนาสุขภาพจังหวัดศรีสะเกษ.ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2566:93-106.

สงกรานต์ กลั่นด้วง. (2548). การประยกตใช้ The “ take PRIDE ” Programในการส่งเสริม พฤตกรรมการกากบตนเองของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 โรงพยาบาลขอนแก่น. วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบณฑิต สาขาวชาสุขศึกษาและการส่งเสริมสุขภาพ, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

Cronbach, Lee J. 1951. “ Coefficient Alpha and The Internal Structure of Tests. Psychometrika. 16(1951) : 297 – 334.

Kuder Richardson. (1993). การหาความเชื่อมั่นโดยใช้วิธีการของคูเดอร์ ริชาร์ดสัน (KuderRichardson Method) สืบค้นจาก http://www.wijai48.com/leriabiliyty/Richardson.htm

House, J.S. and Kahn, R.L. (1985). Meansures and concepts of social support in Cohen,S. And Syme, S.L. Social Support and health.

โสภิตตา แสนวา, เอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์, นิภา มหารัชพงศ์.ผลของโปรแกรมป้องกันการพลัดตกหกล้ม ความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมในบ้านต่อการพลัดตกหกล้มและอุบัติการณ์การพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุหกล้มโดยประยุกต์ตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ ร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคมต่อพฤติกรรมป้องกันการพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุในอำเภอเกาะจันทร์จังหวัดชลบุรี วารสารวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2565:.214-217..2565.

วิลาวรรณ สมตน..ผลของโปรแกรมป้องกันการหกล้มสำหรับผู้สูงอายุ.วารสารพยาบาล สาธารณสุข, 27(3) ;58-70.2556.

ตวงรัตน์ อัคนานและคณะ.(2564).ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันการพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุไทยในชุมชน อำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี.วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ปีที่ 14 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564.หน้า 72-89.

Rosenstock, I. M. (1974). Historical origins of the health belief model. Health Education Monographs, 2, 328-335.

อุบลทิพย์ ไชยแสง,นิวัติ ไชยแสง,นูวัยดา เจะหะและ นัสริน อาลีดีมัน.(2564).การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความสามารถของตนเอง กับพฤติกรรมการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุและแนวทางในการป้องกันการหกล้มของผู้สูงอายุเทศบาลนครยะลา จังหวัดยะลา. The Southern College Network Journal of Nursing and Public Health. 2021; 8(1), 293-307.ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2564.

Sarapun, A.,Sirisopon,N., Kainaka, P., Onsiri, S., Outayanik, B., Threrawachjareanchai, S.,et al. (2017). Factors Related to the Anti-falls Behavior of the Elderly.Journal of the Royal Thai Army Nurses, 18(Special Edition), 215-222.(in Thai)

Bandura, A. (1986). SocialFoundation of Though and Action: A Social Cognitive Theory. New Jersey: Prentice-Hall International Osteoporosis Foundation. (2009). Identifying people at high risk of fracture From: http://osteoporosis.org.za/general/downloads/FRAX-report-09.pdf

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-04-30