แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพกับพฤติกรรมการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับของประชาชนในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสมบูรณ์ อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ

ผู้แต่ง

  • วีรวัฒน์ รัศมี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสมบูรณ์ ตำบลห้วยใต้ อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ

คำสำคัญ:

แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ, พฤติกรรมการป้องกันพยาธิใบไม้ตับ

บทคัดย่อ

     การวิจัยเชิงสำรวจนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพกับพฤติกรรมการป้องกันการเกิดโรคพยาธิใบไม้ตับของประชาชนในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสมบูรณ์ กลุ่มตัวอย่างจำนวน 120 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามระหว่างเดือนกันยายน 2566 ถึง ธันวาคม 2566 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน
     ผลการศึกษาพบว่า ระดับการรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดพยาธิใบไม้ตับในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (gif.latex?\bar{x}=2.25, S.D.=0.55) ระดับการรับรู้ความรุนแรงของการเกิดพยาธิใบไม้ตับในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (gif.latex?\bar{x}=2.00, S.D.=0.39)  ระดับการรับรู้ประโยชน์ของการป้องกันพยาธิใบไม้ตับในภาพรวมอยู่ในระดับ ปานกลาง (gif.latex?\bar{x}=2.18, S.D.=0.58 ระดับการรับรู้อุปสรรคของการป้องกันพยาธิใบไม้ตับในภาพรวม อยู่ในระดับ ปานกลาง (gif.latex?\bar{x}=2.23, S.D.=0.63) พฤติกรรมการป้องกันพยาธิใบไม้ตับอยู่ในระดับ ปานกลาง  (gif.latex?\bar{x}=2.30, S.D.=0.49) ด้านความสัมพันธ์ พบว่า อายุ (r=0.324, p-value<0.001) เคยการรับประทานยาถ่ายพยาธิใบไม้ตับ (r=0.531, p-value <0.001) การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคพยาธิใบไม้ตับ (r= 0.52, p<0.001) การรับรู้ความรุนแรงของการเกิดโรคพยาธิใบไม้ตับมาก (r= 0.63, p=0.001) การรับรู้ประโยชน์ของการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับ(r= 0.78, p<0.001) การรับรู้อุปสรรคของการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับ (r =0.74, p<0.001) มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันพยาธิใบไม้ในตับของประชาชนในเชิงบวกกับพฤติกรรมการป้องกันพยาธิใบไม้ตับอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

References

World Health Organization. (2022). Fact sheets: Foodborne trematode infections. Retrieved from WHO website

Phannee Ounsakul. (1998). Cultural practices influencing liver fluke infection in Thailand. Bangkok: Chulalongkorn University Press.

Prapa Pen Suwan, & Swing Suwan. (1999). Public health behavior and liver fluke infection. Journal of Public Health Research, 15(2), 101-112.

Jones, C. L., Jensen, J. D., Scherr, C. L., Brown, N. R., Christy, K., & Weaver, J. (2015). The health belief model as an explanatory framework in communication research: Exploring parallel, serial, and moderated mediation. Health Communication, 30(6), 566-576.

จุฬาภรณ์ โสตะ. (2559). การศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพด้านการป้องกันโรค. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

Khuntikeo, N., Loilome, W., Yongvanit, P., et al. (2016). "Current perspectives on opisthorchiasis and cholangiocarcinoma in Southeast Asia." Advances in Parasitology, 91, 41-66.

Department of Disease Control. (2020). Annual Epidemiological Surveillance Report. Retrieved from http://www.ddc.moph.go.th/

Sripa, B., Kaewkes, S., Intapan, P.M., et al. (2017). "Food-borne trematodiases in Southeast Asia: epidemiology, pathology, clinical manifestation and control." Advances in Parasitology, 93, 113-168.

ฝ่ายควบคุมโรคสำนักงานสาธารณสุขอำเภอขุขันธ์. (2564). รายงานการสำรวจอัตราความชุกของพยาธิใบไม้ในตับ.

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสมบูรณ์. (2564). รายงานการสำรวจอัตราความชุกของพยาธิใบไม้ในตับ.

อรุณ จิรวัฒน์กุล และคณะ. (2552). การคำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่าง. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.

สุพัฒน์ ในทอง และ อารี บุตรสอน. (2023). ปัจจัยทำนายการติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับซ้ำของประชาชนอำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ. วารสารอนามัยสิ่งแวดล้อมและสุขภาพชุมชน, 8(2), 75-87.

เกษร แถวโนนงิ้ว และคณะ. (2559). อุบัติการณ์และการติดเชื้อซ้ำโรคพยาธิใบไม้ตับในชุมชนของภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ประเทศไทย. วารสารวิชาการสาธารณสุข, 25(3), 370-379.

ภูเบศร์ แสงสว่าง. (2556). การใช้ยาพราชิควอนเทลและอัตราการติดเชื้อซ้ำในผู้ติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับ (วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตรดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

จันทร์เพ็ญ แสงเพ็ง และ สมอน ธนะชาติ. (2566). ความชุกและพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับ Opisthorchis viverrini ในประชาชนใน 5 หมู่บ้านของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาเวียง ตำบลสมอ อำเภอปรางค์กู่ จังหวัดศรีสะเกษ. วารสารวิจัยและพัฒนาสุขภาพศรีสะเกษ ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 (2566): พฤษภาคม – สิงหาคม.

ฉัตรชัย คำดอกรับ และ เกรียงศักดิ์ เวทีวุฒาจารย์. (2561). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับในประชาชนอายุ 40 ปีขึ้นไป อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น. วารสารโรงพยาบาลสกลนคร ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคม 2561.

ชยพล เสนาภักดิ์. (2556). แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพกับพฤติกรรมการป้องกันพยาธิใบไม้ตับของประชาชนในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านขนุน อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ [สารนิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารสาธารณสุข]. ศรีสะเกษ: บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา.

ศิวาพร พิมพ์เรือง. (2557). การรับรู้ ความเชื่อด้านสุขภาพ และการดูแลสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคพยาธิใบไม้ตับที่ได้รับการตรวจวินิจฉัยด้วยอัลตราซาวด์ อ.เหล่าเสือโก้ก จ.อุบลราชธานี [วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาโภชนศาสตร์เพื่อสุขภาพ]. ขอนแก่น: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-30

How to Cite

รัศมี ว. (2024). แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพกับพฤติกรรมการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับของประชาชนในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสมบูรณ์ อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ. วารสารอนามัยสิ่งแวดล้อมและสุขภาพชุมชน, 9(3), 498–506. สืบค้น จาก https://he03.tci-thaijo.org/index.php/ech/article/view/2790