ประสิทธิภาพของถ่านดัดแปลงสภาพจากกะลามะพร้าวชนิดต่างกันในการดูดซับสีโรดาห์มีนบี

ผู้แต่ง

  • วัสมาส พุ่มจันทร์ นักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาอนามัยสิ่งแวดล้อม วิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข
  • อัญชลี เจริญวัย นักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาอนามัยสิ่งแวดล้อม วิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข
  • สมเจตน์ ทองดำรงธรรม อาจารย์หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาอนามัยสิ่งแวดล้อม วิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข
  • สิทธิชัย ใจขาน อาจารย์หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาอนามัยสิ่งแวดล้อม วิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข
  • จิราภรณ์ หลาบคำ อาจารย์หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาอนามัยสิ่งแวดล้อม วิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข

คำสำคัญ:

กะลามะพร้าว, ถ่านดัดแปลงสภาพ, การดูดซับ, สีโรดาห์มีนบี

บทคัดย่อ

     งานวิจัยนี้เป็นวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของถ่านดัดแปลงสภาพจากกะลามะพร้าวขนาดต่างกันในการดูดซับสีโรดาห์มีนบี กลุ่มตัวอย่าง คือ กะลามะพร้าวที่นํามาเผาเป็นถ่านดัดแปลงสภาพจํานวน 3 ขนาด ได้แก่ ถ่านชนิดผงขนาด 1.0 มิลลิเมตร ถ่านชนิดเกล็ดขนาด 3.0 มิลลิเมตร และถ่านชนิดก้อนขนาด 5.0 มิลลิเมตร และ สีโรดาห์มีนบีที่มีความ เข้มสี 3 ระดับ คือ 100 200 และ 300 ADMI เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบบันทึกผลการทดลอง และ เตาเผา อุณหภูมิสูง และ เครื่องวัดสี U-VIS Spectrophotometer (ADMI) ผลการศึกษาพบว่า ถ่านดัดแปลงสภาพจากกะลามะพร้าวทุกชนิด และทุกขนาดมีประสิทธิภาพในการดูดซับสีโรดาห์มีนบีดีที่สุดที่ช่วงเวลา 60 นาที โดยพว่า ถ่านดัดแปลงสภาพจากกะลามะพร้าวชนิดผงขนาด 1 มิลลิเมตร มีประสิทธิภาพในการดูดซับสีโรดาห์มีนที่มีค่าความเข้มสีก่อนบำบัด 100 และ 300 ADMI มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 85 และ ร้อยละ 63 ตามลำดับ ส่วนถ่านชนิดเกล็ดขนาด 3 มิลลิเมตรประสิทธิภาพในการดูดซับสีโรดาห์มีนที่มีค่าความเข้มสีก่อนบำบัด 200 ADMI มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 66

References

ขนิษฐา คำวิลัยศักดิ์ สุธาทิพย์ ศิริปาณี,, และขวัญตรี แสงประชาชนธนารักษ์. ถ่านกัมมันต์ประสิทธิภาพสูงจากน้ำยางดำ. วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับบัณฑิตศึกษา), 2562.

Kooh MRR, Dahri MK, Lim LBL. The removal of rhodamine B dye from aqueous solution using Casuarina equisetifolianeedles as adsorbent. Cogent Environmental Science 2016; 2(1):1140553.

Mohd Iqbaldin MN, Khudzir I, Mohd Azlan MI, Zaidi AG, Surani B, Zubri Z. Properties of coconut shell activated carbon. Journal of Tropical Forest Science 2013; 25(4):497-503.

จักรกฤษณ์ อัมพุช, ชวลิต สีโสภา, พุทธิพล หนองเสนา, จิราธิวัฒน์ ตุรงค์เมือง และชาญณรงค์ ภุชงควาริน. การดูดซับสีย้อมโรดาห์มีนบีด้วยถ่านกัมมันต์จากกะลามะพร้าว. วารสารวิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์ศึกษา 2564; 4(1):22-37.

ยุวรัตน์ เงินเย็น, ฉันทกร ปาทวาท, เกศรา ศิลาเกษ และสมชาย ชวนอุดม. การดูดซับสีย้อมเมทิลีนบลูจากสารละลายโดยถ่านกัมมันต์ที่เตรียมได้จากลูกยางนา. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 2556; 8(2):119-131.

Bello OS, Lameed OS, Adegoke KA. Functionalized coconut husks for rhodamine-B dye sequestration. Applied Water Science 2019; 9(189): https://doi.org/10.1007/s13201-019-1051-4.

จักรกฤษณ์ อัมพุช ฐิตาพร คำภู นันทกานต์ ทองเฟื่อง สุจิตรา แก้วศิริ อิทธิศักดิ์ เภาโพธิ์ ไท แสงเทียน และพุทธพร แสงเทียน. การดูดซับสีย้อมรีแอ็คทีพแบล็ค 5 บนถ่านกัมมันต์ที่เตรียมจากผักตบชวา วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2560; 19(1):163-177

Nimisha S, Samuel A., Michael WI, Schmidt I. Mechanisms of charcoal degradation during its initial stages of decomposition [internet]. 2010 [cited 2024 June 12]. Available from HTTPS://MEETINGORGANIZER.COPERNICUS.ORG/EGU2010/EGU2010-563-2.PDF.

J Jing, Hou Y, Liu C. Effects of color centers absorption on the spectrum of the temperature-dependent radiation-induced attenuation in fiber. Applied Optics [internet]. 2015 [cited 2024 June 12]. Available from https://opg.optica.org/ao/abstract.cfm?uri=ao-54-4-940.

Moreau F, da Silva I, Al Smail N. Unravelling exceptional acetylene and carbon dioxide adsorption within a tetra-amide functionalized metal-organic framework. Nat Commun [internet]. 2017 [cited 2024 June 12]. Available from https://www.nature.com/articles/ncomms14085.

J. Angel Menéndez. Electrical charge distribution on carbon surfaces as a function of the pH and point of zero charge. An approximate solution [internet]. 2018 [cited 2024 June 12]. Available from https://crimsonpublishers.com/rdms/pdf/RDMS.000697.pdf.

Wakabayashi N, Yoshiaki Y, Kawano K, Matsuzaki K. A pH-dependent charge reversal peptide for cancer targeting. European Biophysics Journal [internet]. 2017 [cited 2024 June 12]. Available from https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/27278924/.

Atchabarova AA, Abdimomyn SK, Abduakhytova DA, Zhigalenok YR, Tokpayev RR, Kishibayev KK, Khavaza TN, Kurbatov AP, Zlobina YV, Djenizian TJ. Role of Carbon Material Surface Functional Groups on Their Interactions With Aqueous Solutions. Journal of electroanalytical chemistry[internet]. 2022[cited 2024 June 12]. Available from https://www.sciencedirect.com/science/article/abs/pii/S1572665722006993

Mohan SV, Rao NC, Karthikeyan J."Adsorption removal of direct azo dye from aqueous phase. onto coal based sorbents: a kinetic and mechanistic study. Journal of Hazardous Materials 2013; 90(2):189 – 204.

กิติโรจน์ หวันตาเหลา ชยาภาส ทับทอง สินศุภา จุ้ยจุลเจิม.การดูดซับสีย้อมผ้าด้วยถ่านกัมมันต์ที่ผลิตจากถ่านหินและกะลามะพร้าว. วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 2550; 10 (2):104-112.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-30