ผลของโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยเรื้อรังในชุมชน เขตพื้นที่บริการของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลฝั่งแดง จังหวัดนครพนม

ผู้แต่ง

  • กรรธิมา ฝาระมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชธาตุพนม จังหวัดนครพนม
  • รินทร์หทัย ธนพรสิทธิกูล พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชธาตุพนม จังหวัดนครพนม
  • ผกาพรรณ อังคนาวราพันธุ์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชธาตุพนม จังหวัดนครพนม
  • อุเทน สุทิน อาจารย์สถาบันพระบรมชนก วิทยาลัยการสาธารณสุขวิรินธร จังหวัดชลบุรี Address Correspondence to author

คำสำคัญ:

โปรแกรมส่งเสริมสุขภาพ, ผู้สูงอายุ, โรคเรื้อรัง

บทคัดย่อ

     การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและศึกษาผลของการใช้โปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยเรื้อรังในชุมชน การวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi-experimental research design) แบบ 2 กลุ่ม กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม จำนวนกลุ่มละ 51 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินคุณภาพชีวิตขององค์การอนามัยโลกชุดย่อ (WHOQOL-BREF-THAI) และแบบวัดความผาสุกทางจิตวิญญาณ  สถิติที่ใช้ในการศึกษาวิจัย ข้อมูลส่วนบุคคลทั่วไปโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา โดยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ หาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์เปรียบเทียบคะแนนก่อนและหลังเบื้องต้นใช้การทดสอบค่าที Dependent t-testหรือ Fisher’s exact test และสถิติที่ใช้เปรียบเทียบ2 กลุ่ม ค่าคะแนนระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กรณีข้อมูลเป็นไปตามข้อตกลงเบื้องต้นด้วยการทดสอบค่าที Independent t test
     ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มทดลองมีค่าคะแนนเฉลี่ยด้านคุณภาพชีวิต (t = 18.89, 95%CI = 1.30 ถึง 1.61) และความผาสุกทางจิตวิญญาณ (t = 19.79, 95%CI = 1.43 ถึง 1.76) หลังการทดลองสูงกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ P< .0001 และหลังการทดลองใช้โปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยเรื้อรังในชุมชน คุณภาพชีวิต (t = 27.95,   95%CI = 1.35  ถึง 1.55) และความผาสุกทางจิตวิญญาณ (t = 23.60, 95%CI = 1.46 ถึง 1.72) ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ P< .0001

References

กนิษฐ์ โง้วศิริ, กันยา นภาพงษ์ และวิภากร สอนสนาม. (2563). ผลของโปรแกรมการสร้างเสริมสุขภาพแบบองค์รวมต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ, 21(3); 418-431.

กรมกิจการผู้สูงอายุ. (2566). สถิติผู้สูงอายุ. สืบค้นเมื่อ 11 สิงหาคม 2566; เข้าถึงจาก: https://www.dop.go.th/th/know/side/1/1/1962.

กรมควบคุมโรค กองโรคไม่ติดต่อ กระทรวงสาธารณสุข. (2562). รายงานสถานการณ์โรค NCDs เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง พ.ศ. 2562. กรุงเทพฯ: อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซน์.

กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2565). คู่มือแผนส่งเสริมสุขภาพดี (Wellness Plan). จัดทำโดยสำนักอนามัยผู้สูงอายุ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.

กรฐณธัช ปัญญาใส, จุฑามาศ กิติศรี และพิชชานาถ เงินดี. (2560).ประสิทธิผลของโปรแกรมการสร้างเสริมสุขภาพเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตบนพื้นฐานความต้องการของผู้สูงอายุ. วารสารสาธารณสุขมหาวิทยาลัยบูรพา, 12(2),65-74.

กัลยาวีร์ อนนท์จารย์. (2559). ทฤษฎีแบบแผนความเชื่อทางสุขภาพ. สืบค้นเมื่อ 20 มกราคม 2567; เข้าถึงจาก: https://myblogcomnurse.blogspot.com/2016/02/health-belive-model.html.

จิรภา วิลาวรรณ, จิรัชญา เหล่าคมพฤฒาจารย์, ธิติรัตน์ เหล่าคมพฤฒาจารย์, ยุวดี บุญเนาว์ และพัทรินทร์ บุญเสริม. (2565). ผลของโปรแกรมการส่งเสริมคุณภาพชีวิตและป้องกันภาวะซึมเศร้าเชิงสังคมและ วัฒนธรรมในกลุ่มผู้สูงอายุ ตำบลนาฝาย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ. วารสารวิจัยและพัฒนาระบบคุณภาพ, 15(1), 181-195.

ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ. (2558). การทบทวนกฎหมายและนโยบายด้านผู้สูงอายุสู่การจัดการสุขภาพ. วารสารกฎหมายสุขภาพและสาธารณสุข, 1(2): 149-163.

ณัฐธิวรรณ พันธ์มุง, อลิสรา อยู่เลิศลบ และสราญรัตน์ ลัทธิ .(2562). ประเด็นสารรณรงค์วันความดันโลหิตสูงโลกปี 2562. สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค.

นฤนาท ยืนยง และวลัยนารี พรมลา. (2561). โปรแกรมส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอุชาวมอญ จังหวัดปทุมธานี.วารสารวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ, 4(พิเศษ): 390-400.

ปัญจพจน์ วิมลรัตนชัยศิริ. (2563). การศึกษาเปรียบเทียบพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมและไม่ได้เข้าร่วมกิจกรรมในชมรมผู้สูงอายุตำบลสามชุก อำเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี, 3(2): 52-75.

รพีพรรณ สารสมัคร. (2565). ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยกับการปรับตัวต่อการเจ็บป่วยของผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง ในจังหวัดอำนาจเจริญ. วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย, 15(2): 92-107.

โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์. (2564). กลุ่มโรคไม่ติดต่อ (NCDs) โรคที่เกิดจากพฤติกรรม. สืบค้นเมื่อ 10 พฤศจิกายน 2566; เข้าถึงจาก: https://www.bumrungrad.com/th/health-blog/may-2016/ncds- non-communicable-diseases-symptoms-prevention.

วิไลวรรณ ทองเจริญ.(2566). การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายในวัยสูงอายุ. Available at: https://ns.mahidol.ac.th (Accessed:14 May 2023).

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2561). การเปลี่ยนแปลงในผู้สูงอายุ. Available at: https://www.thaihealth.or.th. (Accessed:14 May 2566).

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2566). การเผชิญหน้าสังคมผู้สูงอายุโจทย์ท้าทายภาระ ค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้น. สืบค้นเมื่อ 10 สิงหาคม 2566 เข้าถึงจาก https://resourcecenter.thaihealth.or.th/article/.

สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งปี. (2565). จับตาสถานการณ์ประชากรสูงอายุทั่วโลกและไทย. สืบค้นเมื่อ 10 สิงหาคม 2566; เข้าถึงจาก: https://infocenter.nationalhealth.or.th/node/27613.

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครพนม. (2566). HDC สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครพนม. สืบค้นเมื่อ สิงหาคม 2566; เข้าถึงจาก: https://npm.hdc.moph.go.th/hdc/main/index.php.

สุวัฒน์ มหัตนิรันดร์กุล, วิรวรรณ ตันติพิวัฒนสกุล, วนิดา พุ่มไพศาลชัย, กรองจิต วงศ์สุวรรณ และราณีกุล พรหมานะจิรัง. (2545). เครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตขององค์การอนามัยโลกชุดย่อฉบับภาษาไทย (Whoqol-Bref-Thai). กรมสุขภาพจิต. กรุงเทพฯ. Available at: https://www.dmh.go.th/test/whoqol/.

ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ. (2563). จับตาสถานการณ์ประชากร สูงอายุทั่วโลกและไทย. สืบค้นเมื่อ 10 กรกฎาคม 2566; เข้าถึงจาก: https://infocenter.nationalhealth.or.th/node/27613.

อภิเชษฐ์ จำเนียรสุข, พิชสุดา เดชบุญ, กฤติเดช มิ่งไม้, ศศิวิมล โพธิ์ภักต์, สานุรักษ์ โพธิ์หา และสุชานรี พานิชเจริญ. (2560). คุณภาพชิวิตผู้สูงอายุที่มีโรคเรื้อรังในอำเภอสีชมพู จังหวัดขอนแก่น. วารสารราชพฤษ์, 15(2)

อาภาพร เผ่าวัฒนา และคณะ. (2554). การเสริมสร้างสุขภาพและป้องกันโรคในชุมชนการประยุกต์แนวคิด และทฤษฎีสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ. หจก. โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา.

Bandura, Albert. (2001). Social cognitive theory: An agentic perspective. Annu.Rev.Psychol.Becker, M.H. (1974). The Health Belief Model and Personal Health Behavior. Health Education Monographs, 2, 324- 508.

Becker M.H., Maiman LA.(1975). Sociobehavioural determinants of compliance with health and medical care recommendations. Med Care, 13:10-23.

Hfocus. (2019). สมาพันธ์เบาหวานนานาชาติ ประเมินทั่วโลกมีผู้ป่วยเบาหวาน 425 ล้านราย.สืบค้นเมื่อ 12 ธันวาคม 2566; เข้าถึงจาก: https://www.hfocus.org/content/2019/11/18054.

House, Robert J. & Mitchell, Terence R. (1974). Path-Goal theory of leadership. Journal of Contemporary Business; 81-97.

O’Brien, M.E. (2011). The need for spiritual integrity. In Yura, H., & Walsh, M. eds. Human needs and the nursing process. (pp. 82-115). Norwalk, CT: Appleton- Century-Crofts.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-30

How to Cite

ฝาระมี ก., ธนพรสิทธิกูล ร., อังคนาวราพันธุ์ ผ., & สุทิน อ. (2024). ผลของโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยเรื้อรังในชุมชน เขตพื้นที่บริการของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลฝั่งแดง จังหวัดนครพนม. วารสารอนามัยสิ่งแวดล้อมและสุขภาพชุมชน, 9(3), 528–537. สืบค้น จาก https://he03.tci-thaijo.org/index.php/ech/article/view/2810