การผลิตถ่านอัดแท่งจากตะกอนน้ำเสียจากกระบวนการผลิตเครื่องปรุงรสและถ่านกะลามะพร้าว

ผู้แต่ง

  • ประยุกต์ เดชสุทธิกร อาจารย์ สาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อม คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
  • ธรรมวัฒน์ ปวงษาพัฒน์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อม คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา Corresponding author
  • รจฤดี โชติกาวินทร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อม คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
  • ธีรยุทธ เสงี่ยมศักดิ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สาขาวิชาสุขศาสตร์อุตสาหกรรมและความปลอดภัย คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
  • อารีรัตน์ แต้มรู้ นักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อม คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
  • จิดาภา รัตนประเสริฐ นักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อม คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
  • ธัญญพร เต็นประโคน นักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อม คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
  • ศิริวรรณ บรรเลงทรัพย์ นักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อม คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
  • สุกัญญา นาเมือง นักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อม คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

คำสำคัญ:

ถ่านกะลามะพร้าว, ถ่านอัดแท่ง, ตะกอนน้ำเสีย

บทคัดย่อ

     การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอัตราส่วนที่เหมาะสมของการผลิตถ่านอัดแท่ง จากตะกอนน้ำเสียจากกระบวนการผลิตเครื่องปรุงรสและถ่านกะลามะพร้าวในการผลิตเป็นเชื้อเพลิง การวิจัยมีการแปรเปลี่ยนอัตราส่วนของตะกอนน้ำเสียต่อถ่านกะลามะพร้าวร้อยละ 0:100, 20 : 80, 40 : 60, 60 : 40 และ 80 : 20 ตามลำดับ ผลการศึกษาคุณภาพของถ่านอัดแท่ง พบว่า ทุกอัตราส่วนผ่านเกณฑ์มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.238/2547) ยกเว้นที่อัตราส่วน 60:40 และ 80:20 อัตราส่วนที่เหมาะสมในการผลิตถ่านอัดแท่ง คือ อัตราส่วน 20:80 โดยมีค่าผ่านมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน และค่าความร้อน 6,711.6 ± 122.5 แคลอรี่ต่อกรัม คาร์บอนคงตัวร้อยละ 71.27 ± 2.31 และอัตราการเผาไหม้ 52.10 ± 1.11 นาที โดยมีค่ามากที่สุด เมื่อเทียบกับอัตราส่วนอื่นๆ จึงมีคุณสมบัติทางด้านเชื้อเพลิงที่ดี และมีความเหมาะสมต่อการนำไปใช้เป็นเชื้อเพลิงทดแทน

References

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน. แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก พ.ศ. 2558 – 2579. [อินเตอร์เน็ต]. 2558. [สืบค้นเมื่อ 3 กค.66]. เข้าถึงจาก: https://www.eppo.go.th/images/POLICY/PDF/AEDP2015.pdf

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน. ข้อมูลทั่วไป [อินเตอร์เน็ต]. 2566. [สืบค้นเมื่อ 4 กค.66]. เข้าถึงจาก: https://biomass.dede.go.th/biomass_web/index.html

ดวงกมล ดังโพนทอง และวสันต์ ปินะเต. การส่งเสริมการผลิตถ่านอัดแท่งจากเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรเพื่อใช้ประโยชน์ในครัวเรือนระดับชุมชนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง [รายงานการวิจัย]. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม; 2557.

วรัญญา เทพสาสน์กุล วรัญญา ธรรมชาติ และอัครินทร์ อินทนิเวศน์. การศึกษาการผลิตเชื้อเพลิงอัดแท่งที่ผ่านกระบวนการคาร์บอไนเซชันจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรประเภทกะลามะพร้าว. การประชุมวิชาการเครือข่ายพลังงานแห่งประเทศไทยครั้งที่ 12 จังหวัดพิษณุโลก 2559: 610-618.

สังเวย เสวกวิหารี และอุดมเดชา พลเยี่ยม. การผลิตเชื้อเพลิงอัดแท่งจากเปลือกมะพร้าวอ่อน [รายงานการวิจัย]. กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร; 2563.

ปิยะวดี ศรีวิชัย และเสกสรรค์ ทองติ๊บ. การใช้ประโยชน์กากตะกอนน้ำเสียจากโรงงานผลิตแป้งมันสำปะหลังเป็นวัสดุผสมในอิฐมอญ. วารสารมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) กรุงเทพฯ 2564; 13 (25): 86-96.

กรมควบคุมมลพิษ. คู่มือการจัดการน้ำเสียจากสถานประกอบการขนาดเล็กที่ผลิตสินค้าหรือให้บริการบางประเภทสำหรับเจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น [อินเตอร์เน็ต]. 2565. [สืบค้นเมื่อ 24 มิ.ย.67]. เข้าถึงจาก: https://www.pcd.go.th/wp-content/uploads/2022/04/pcdnew-2022-04-20_07-54-46_706503.pdf

Mescente. ความแตกต่างระหว่างเทียนไขถั่วเหลืองและเทียนไขพาราฟิน [อินเตอร์เน็ต]. 2567. [สืบค้นเมื่อ 24 มิ.ย.67]. เข้าถึงจาก: https://th.m-scent.com/news/the-difference-between-soy-wax-candles-and-paraffin-wax-candles.html

สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนของถ่านอัดแท่ง มผช. 238-2547. กรุงเทพฯ. 2547.

อารีรัตน์ แต้มรู้ จิดาภา รัตนประเสริฐ ธัญญพร เต็นประโคน ศิริวรรณ บรรเลงทรัพย์ และสุกัญญา นาเมือง. การผลิตถ่านอัดแท่งจากตะกอนน้ำเสียและถ่านกะลามะพร้าว [รายงาน]. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา; 2565.

American Society for Testing and Materials (ASTM). Standard Test Methods for Moisture, Ash, and Organic Matter of Peat and Other Organic Soils: ASTM D2974-14. Pennsylvania: ASTM International; 2020.

รอกีเยาะ สา และฮาลีเมาะ ฮูลู. การศึกษาถ่านอัดแท่งจากวัสดุเหลือใช้ในท้องถิ่น [รายงานการวิจัย]. ยะลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา; 2554.

American Society for Testing and Materials (ASTM). Standard Test Method for Gross Calorific Value of Coal and Coke: ASTM D5865. Pennsylvania: ASTM International; 2019.

American Society for Testing and Materials (ASTM). Standard Test Method for Moisture in The Analysis Sample of Coal and Coke: ASTM D3173-11. Pennsylvania: ASTM International; 2017.

American Society for Testing and Materials (ASTM). Standard Test Method for Volatile Matter in the Analysis Sample of Coal and Coke: ASTM D3175-20. Pennsylvania: ASTM International; 2020.

American Society for Testing and Materials (ASTM). Standard Test Method for Ash in the Analysis Sample of Coal and Coke from Coal: ASTM D3174-12. Pennsylvania: ASTM International; 2018.

American Society for Testing and Materials (ASTM). Standard Practice for Proximate Analysis of Coal and Coke: ASTM D3172-13. Pennsylvania: ASTM International; 2021.

อังศุมน สังขพันธ์. เชื้อเพลิงอัดแท่งร่วมจากระบบบ้าบัดน้ำเสียชุมชน กรณีศึกษาโรงบำบัดน้ำเสียชุมชนแห่งหนึ่งในเมืองพัทยา [วิทยานิพนธ์วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต]. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์; 2560.

วีรชัย อาจหาญ. การพัฒนาเครื่องอัดแท่งชีวมวลสำหรับใช้ผลิตถ่านชีวภาพ [รายงานการวิจัย]. นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี; 2547.

ธารินี มหายศนันท์ และประเทือง อุษาบริสุทธิ์. การออกแบบและสร้างเครื่องผลิตถ่านอัดแท่งสำหรับการผลิตในระดับครัวเรือน [วิทยานิพนธ์วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต]. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์; 2548.

กรมโรงงานอุตสาหกรรม. คู่มือแนวทางและเกณฑ์คุณสมบัติของเสียเพื่อการแปรรูปเป็นแท่งเชื้อเพลิงและบล็อกประสาน [อินเตอร์เน็ต]. 2555. [สืบค้นเมื่อ 8 กค.66]. เข้าถึงจาก: http://webintra.diw. go.th/iwmb/form/iwd040_ผนวก%20ง_คู่มือนำร่อง.pdf

เอกลักษณ์ กิติภัทร์ถาวร ประเสริฐ เรียบร้อยเจริญ และวลัยรัตน์ อุตตมะปรากรม. เชื้อเพลิงอัดแท่งจากการผลิตร่วมของตะกอนเปียกอุตสาหกรรมผลิตเอทานอล. วารสารวิจัยพลังงาน กรุงเทพฯ 2556; 10 (3): 43-56.

ทิพย์วรรณ ช่วยทอง ธเนศ ไชยชนะ และศุภลักษณ์ อำลอย. สมบัติของถ่านจากเปลือกหมาก. วารสารมหาวิทยาลัยทักษิณ จังหวัดพัทลุง 2557; 17 (3): 68-75.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-30