ผลของโปรแกรมการให้ความรู้ต่อความรู้และพฤติกรรม การดูแลตนเองของหญิงตั้งครรภ์เพื่อลดภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก
คำสำคัญ:
การให้ความรู้, พฤติกรรมการดูแลตนเองของหญิงตั้งครรภ์, ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้เป็นวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินประสิทธิผลของโปรแกรมการให้ความรู้ต่อความรู้และพฤติกรรมการดูแลตนเองของหญิงตั้งครรภ์เพื่อลดภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี กลุ่มตัวอย่างแบบกลุ่มเดียววัดผลก่อนและหลังจำนวน 30 คน รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบและวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ความแตกต่างของค่าโดยใช้สถิติ Independent Paired t-test กำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ผลการศึกษาพบว่า หญิงตั้งครรภ์ส่วนใหญ่มีอายุระหว่างอายุ 21-30 ปี ร้อยละ 53.30 จบการศึกษาระดับปริญญาตรี ร้อยละ 43.30 อาศัยอยู่ในจังหวัดราชบุรี ร้อยละ 80 อาชีพค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว ร้อยละ 36.70 ไม่มีโรคประจำตัว ร้อยละ 90 ไม่มีประวัติแพ้ยา ร้อยละ 80 ปัจจุบันตั้งครรภ์ครรภ์แรก ร้อยละ 40 ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ร้อยละ 66.70 ประวัติไม่เคยคลอดบุตรน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ร้อยละ 90 ขณะตั้งครรภ์รับประทานอาหารหลัก วันละ 3 มื้อ ร้อยละ 80 และรับประทานอาหารประเภทนม 2-3 แก้วและเกลือ ≤ 1 ช้อนชาต่อวัน ร้อยละ 73.33 ความรู้เรื่องการดูแลตนเองของหญิงตั้งครรภ์หลังเข้าร่วมโปรแกรมอยู่ในระดับสูง (= 15.17) พฤติกรรมการดูแลตนเองในภาพรวมรู้อยู่ในระดับสูง (= 4.41) และระดับค่าฮีมาโตคริตในหญิงตั้งครรภ์อยู่ในระดับที่ปกติ (= 34.67) เพิ่มขึ้นจากก่อนการเข้าร่วมโปรแกรมฯอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value<.05) และมีความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (= 4.72)
References
World Health organization. Iron deficiency anemia: assessment, prevention, and control : A guide for programe managers. Geneva : WHO ; 2001.
World Health organization. Anaemia in women and children: WHO Global Anaemia estimates, 2021 Edition. The WHO Reproductive Health Library[online] 2023[cited 2023 December 2]. Accessible from: https://www.who.int/data/gho/data/themes /topics/anaemia_in_women_and_children
Sunuwar D, Singh D, Chaudhary N, Pradhan P, Rai P, Tiwari K. Prevalence and factors associated with anemia among women of reproductive age in seven South and Southeast Asian countries: Evidence from nationally representative surveys. PLoS ONE, 2020; 1-17, 15(8)
กรมอนามัย. ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ ระดับเขตสุขภาพ. ระบบสารสนเทศสนับสนุนงานส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม.์[ออนไลน์]. 2566 [เข้าถึงเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://dashboard.anamai.moph.go.th/dashboard/anemia1549/index?year=2023
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี. ตัวชี้วัดร้อยละของหญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจาง. [ออนไลน์]. 2566 [เข้าถึงเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://hpc.go.th/standard/result_graph2.php? code=1604.
ระพีพร แพทย์จะเกร็ง, สมใจ พุทธาพิทักษ์ผล, เรณุการ์ ทองคำรอด.ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะโลหิตจางในระยะตั้งครรภ์ของสตรีมุสลิม ที่มารับบริการคลอดในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดปัตตานี.วารสารวิจัยและนวัตกรรมทางสุขภาพ. 2565; 5(1), 10-21.
กันยา โพธิปิติ. การศึกษาผลการให้ยาเสริมธาตุเหล็กแก่หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กและพฤติกรรมการรับประทานอาหารและยา ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 5. [ออนไลน์]. 2566 [เข้าถึงเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://hpc.go.th/rcenter/ fulltext/20190909105047_3059/20190909105152_1035.pdf
ปภาวี ไชยรักษ์. ปัจจัยคาดทำนายการรับประทานวิตามินเสริมธาตุเหล็กและโฟลิกก่อนตั้งครรภ์ในกลุ่มหญิงวัยเจริญพันธ์ไทย. วารสารสหศาสตร์. 2564; 21(1), 136-151.
CDC criteria for anemia in children and childbearing-aged women. MMWR Morbidity and mortality weekly report. 1989; 38(22), 400-404.
Breymann C. Iron Deficiency Anemia in Pregnancy. Seminars in Hematology . 2015; 52(4), 339-347
กรมอนามัย. คู่มือแนวทางควบคุมและป้องกันภาวะโลหิตจาง. [ออนไลน์] 2566. [เข้าถึงเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://nutrition2.anamai.moph.go.th/th/book/download /?did=213240&id=104798&reloa
วรรณพร คำพิลา, เบญจพร ฐิติญาณวิโรจน์, สุกัญญา รักศรี, ปวินตรา มานาดี, ทิพวรรณ ทัพซ้าย, สุธิดา สิงห์ศิริเจริญกุล. การดูแลสตรีตั้งครรภ์ทีมีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก : บทบาทที่ท้าทายของพยาบาล. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2565; 30(2), 134-142.
ลลิตวดี เตชะกัมพลสารกิจ, กรรณิการ์ กันธะรักษา, นันทพร แสนศิริพันธ์. วิธีการส่งเสริมการป้องกันภาวะโลหิตจางในสตรีตั้งครรภ์: การทบทวนอย่างเป็นระบบ. วารสารพยาบาลสาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2561; 45(1), 62-74
วราภรณ์ อัครงามสิริ , สุวรรณณา อนุสันติ , แก้วตะวัน ศิริลักขณานันท์. ผลของการจัดการพยาบาลเจ้าของไข้ต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของหญิงตั้งครรภ์ในโรงพยาบาลเอกชน. วารสารพยาบาลทหารบก. 2562; 22(1), 313-320.
King, I. M. Evidence-based nursing practice.: Theories. Journal of Nursing Theory, 2000;9(2),4-9.
นวพร วุฒิธรรม,ปุณยนุช พิมใจใส. การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก. วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน, 2561; 24(1),139-148.
Chunuan,S. Pinsuwan, S.Chatchawet, W. Effectiveness of Interactive Learning via Multimedia Technology with Family Support Program among Pregnant Women with Anemia: A Quasi-Experimental Study. Pacific Rim Int J Nurs Res. 2022; 26(4), 600-612.
Orem, D.E. Nursing: Concepts of practices (4th ed.). St. Louis: Mosby Year Book. 1991.
Best, John. Research in Education. New Jersey:Prentice Hall, Inc.1977.
Likert, R. New patterns of management. New York: McGraw - Hill Book Company. 1961.
ปราณี มีหาญพงษ์, กรรณิการ์ ฉัตรดอกไม้ไพร. การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวิจัยทางการพยาบาล. วารสารพยาบาลทหารบก. 2561; 19(1), 9-15.
ธีราภรณ์ บุณยประภาพันธ์, ศิริวรรณ แสงอินทร์, สุพิศ ศิริอรุณรัตน์. ผลของโปรแกรมการสนับสนุนและให้ความรู้ต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและระดับฮีมาโตคริตในหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.2561; 26(4),40-50.
อารมย์ โคกแก้ว, พัทธวรรณ ชูเลิศ, มนัสชนกฑ์ กุลพานิชย์. ผลของการใช้โปรแกรมส่งเสริมสุขภาพต่อความรู้และพฤติกรรมการดูแลตนเองของหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์. 2565; 9(8),17-31.
สมศรี ปลิวมา, หทัยรัตน์ บุษยพรรณพงศ์. การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมการดูแลภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ที่มารับบริการ ที่โรงพยาบาลชัยนาทนเรนทร. วารสารโรงพยาบาลสิงห์บุรี, 2565; 31(2), 165-179
อนุสรา มั่นศิลป์, ไพลิน นุกูลกิจ, โสภาพันธ์ สอาด. ผลของโปรแกรมการสอนร่วมกับการเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์ต่อความรู้ และการปฏิบัติในผู้ป่วยที่รอรับการผ่าตัดหัวใจ. วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย. 2566; 16(2), 89-104.
เพ็ญพยงค์ ตาระกา , กินรี ชัยสวรรค์ ,ธนพร แย้มสุดา. ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถแห่งตนต่อพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นครรภ์แรก. วารสารแพทย์นาวี. 2562; 46(2), 319-335.
นวพร วุฒิธรรม, ปุณยนุช พิมใจใส. การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก. วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน. 2561; 24(1),139-148.
สมศรี ปลิวมา , หทัยรัตน์ บุษยพรรณพงศ์. การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมการดูแลภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ที่มารับบริการ ที่โรงพยาบาลชัยนาทนเรนทร. วารสารโรงพยาบาลสิงห์บุรี. 2565; 31(2), 165-179.
สุรีย์ สร้อยทอง. ผลการใช้โปรแกรมสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพที่มีผลต่อความรู้ความเข้าใจและพฤติกรรมการดูแลตนเองของหญิงตั้งครรภ์. โรงพยาบาลสกลนคร, 2566; 1-13.