รูปแบบการสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพในแกนนำกลุ่มวัยเรียน ในเขตเทศบาลเมือง จังหวัดอ่างทอง
คำสำคัญ:
ความรอบรู้ด้านสุขภาพ, แกนนำนักเรียน, รูปแบบบทคัดย่อ
การศึกษานี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi-Experimental Research) แบบศึกษากลุ่มเดียววัดสองครั้ง (The One-Group Pretest-Posttest Design) กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ แกนนำกลุ่มวัยเรียน กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลอ่างทอง จำนวน 94 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ ก่อนและหลังดำเนินการ โดยใช้สถิติ paired sample t–test กำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05
ผลการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างหลังดำเนินการมีค่าเฉลี่ยสูงกว่าก่อนดำเนินการ นัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 จำนวน 4 ด้าน ดังนี้ องค์ประกอบที่ 1 ทักษะการเข้าถึงข้อมูลและบริการสุขภาพ, องค์ประกอบที่ 2 ด้านการเข้าใจข้อมูลสุขภาพ, องค์ประกอบที่ 3 ด้านการประเมินข้อมูลและบริการด้านสุขภาพ, องค์ประกอบที่ 4 การประยุกต์ใช้ข้อมูลและบริการสุขภาพ และพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียนสำหรับโรงเรียนส่งเสริมสุขบัญญัติแห่งชาติ หลังดำเนินการ มีค่าเฉลี่ยสูงกว่าก่อนดำเนินการ
References
กรมอนามัย. แนวทางพัฒนาสู่โรงเรียนรอบรู้ด้านสุขภาพ [อินเทอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 2024 ก.ย. 21]. เข้าถึงได้จาก: https://hp.anamai.moph.go.th/web-upload/4xceb3b571ddb70741ad132d75876bc41d/tinymce/OPDC/OPDC2563-F/IDC1_3/opdc_2563_IDC1-3_14.pdf
กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. การเสริมสร้างและประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มเด็กและเยาวชน อายุ 7-14 ปี และกลุ่มประชาชนที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป ฉบับปรับปรุง ปี 2561. นนทบุรี: กองสุขศึกษา; 2561.
เบญจพร ธิหลวง, วราภรณ์ ศิริสว่าง, รพีพร เทียมจันทร์. พฤติกรรมสุขภาพของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย ในอำเภอดอยหล่อ จังหวัดเชียงใหม่ [อินเทอร์เน็ต]. 2560 [เข้าถึงเมื่อ 2024 ก.ย. 21]. เข้าถึงได้จาก: https://so02.tci-thaijo.org/index.php/banditvijai/article/view/96577/75346
วุฒิพงษ์ ฆารวิพัฒน์. รูปแบบการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพตามหลักสุขบัญญัติแห่งชาติ ในนักเรียน โรงเรียนเทศบาล 4 เฉลิมพระเกียรติ อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์. วารสารอนามัยสิ่งแวดล้อมและสุขภาพชุมชน. 2565;7(3):178-187. เข้าถึงได้จาก: https://he03.tci-thaijo.org/index.php/ech/article/view/852/555
จินตนา จันทร์ดี, กิ่งดาว โพธิ์สุยะ. ประสิทธิผลของรูปแบบสร้างเสริมความรอบรู้ทางสุขภาพสามเณร โรงเรียนพระปริยัติธรรมวัดภูเก็ต อำเภอปัว จังหวัดน่าน. วารสารสาธารณสุขชุมชน. 2564;7(4):56-71. เข้าถึงได้จาก: https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ajcph/article/view/252484/174318
กัญญา คณะวาปี, เกศินี สราญฤทธิชัย. ผลของโปรแกรมการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพร่วมกับโรงเรียนรอบรู้ด้านสุขภาพต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรคอ้วนในเด็กวัยเรียนที่มีภาวะน้ำหนักเกิน. วารสารวิชาการสาธารณสุขชุมชน. 2565;8(2):105-118. เข้าถึงได้จาก: https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ajcph/article/view/255706/176420
Pender NJ, Murdaugh CL, Parsons MA. Health promotion in nursing practice. 7th ed. Pearson; 2014.
Nutbeam D. The evolving concept of health literacy. Journal of Social Science & Medicine. 2008;67:2072-8.
สุนิสา ทรงสายคัท, รัตติพร โกสุวิน, ปะการัง ศรีมี, สันธาน จันทะมุด, กนกวรรณ ยงยุน, กัญชลิตา ทวอตเมตาแนนต์. ผลของโปรแกรมการสอนสุขศึกษาที่มีต่อความรู้และพฤติกรรมสุขภาพ เรื่องสุขบัญญัติแห่งชาติ 10 ประการ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา โรงเรียนชุมชนวัดเชี่ยวโอสถ จังหวัดนครนายก. วารสารวิจัยสุขภาพและการพยาบาล. 2564;37(1):216-217. เข้าถึงได้จาก: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/bcnbangkok/article/view/249295/168893
วชิราภรณ์ ขาวลอยฟ้า, อุไรวรรณ์ หาญวงค์. การพัฒนากิจกรรมสุขบัญญัติแห่งชาติ 10 ประการ. วารสารวิชาการธรรมทรรศน์. 2565;22(4):295-308. เข้าถึงได้จาก: https://so06.tci-thaijo.org/index.php/dhammathas/article/view/258415/175135
นิรมล โทแก้ว. การพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพด้วยวิถี บวร.ร. ในประชาชนบ้านหนองหิน ตำบลโคกก่อ อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม. วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม. 2564;18(1):61-72.
ประไพ กิตติบุญถวัลย์, จีราภรณ์ ชื่นฉ่ำ, ศักดิ์มงคล เชื้อทอง. ความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของเด็กวัยเรียน. วารสาร มจร การพัฒนาสังคม. 2565;22(4):71-84. เข้าถึงได้จาก: https://so06.tci-thaijo.org/index.php/JMSD/article/view/256393/174194
บังอร กล่ำสุวรรณ, คณะ. การพัฒนารูปแบบโรงเรียนรอบรู้ด้านสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 7. วารสารสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 ขอนแก่น. 2564;28(2):95-105.