ปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนและการเสียชีวิตในผู้ป่วยแผลเป็บติกทะลุใน โรงพยาบาลพระนารายณ์มหาราช

ผู้แต่ง

  • พงษ์เดช จาวรุ่งฤทธิ์ กลุ่มงานศัลยกรรม โรงพยาบาลพระนารายณ์มหาราช

คำสำคัญ:

แผลเป็บติกทะลุ, ภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด

บทคัดย่อ

     การศึกษาย้อนหลังในผู้ป่วยแผลเป็บติกทะลุ ที่ได้รับการวินิจฉัยและรักษาในโรงพยาบาลพระนารายณ์มหาราชระหว่างเดือนตุลาคม 2562 ถึง กันยายน 2566 จำนวน 186 คน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนและการเสียชีวิตในผู้ป่วยแผลเป็บติกทะลุในโรงพยาบาลพระนารายณ์มหาราช โดยเก็บข้อมูล ปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยเสี่ยง ปัจจัยเกี่ยวกับการตรวจร่างกาย ปัจจัยทางคลินิกและการผ่าตัด ปัจจัยด้านการรักษา
     ผลการวิจัย: จากจำนวนผู้ป่วย 186 คน พบผู้ป่วยมีภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด 22 คน (11.83%) เสียชีวิต 6 คน (3.23%) ปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนและการเสียชีวิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ได้แก่ อายุ>60 ปี, ภาวะ shock ก่อนการผ่าตัด, Pulse rate>100/min, ระยะเวลารอการผ่าตัด

References

Dempsey DT, Kitagawa Y, Stomach, Anderson DK, Timothy R, Dunn DL, et al. (2015). Stomach. Schwartzus principle of surgery. The McGraw-Hill Companies.

สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. (2565). สถิติและตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข. กระทรวงสาธารณสุข.

Chung TK, Shelat GV. (2017). Perforated peptic ulcer-an update. World J Gastro intest Surg, 9(1):1-12.

หน่วยงานสารสนเทศ โรงพยาบาลพระนารายณ์มหาราช. (2566). สถิติโรงศัลยกรรม กลุ่มงานศัลยกรรม โรงพยาบาลพระนารายณ์มหาราช. โรงพยาบาลพระนารายณ์มหาราช.

วิเชียร มนอยู่พะเนา. (2563). ปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนและการเสียชีวิตในผู้ป่วยแผลเป็บติกทะลุในจังหวัดเลย. ชัยภูมิเวชสาร, 40(1): 24-33.

Archampong TN, Asmah RH, Wiredu EK, Gyasi RK, Nkrumah KN. (2016). Factors associated with gastro-duodenal disease in patients undergoing upper GI endoscopy at the Korle-Bu Teaching Hospital, Accra, Ghana. Afr Health Sc, 16: 611-9.

Chung TK, Shelat GV. (2017). Perforated peptic ulcer-an update. World J Gastro intestSurg, 9(1):1-12.

Ciftci F, Erozgen F. (2018). Patients With Perforated Peptic Ulcers: Risk Factors for Morbidity and Mortality. International Surgery, 103(11):578-84.

Suriya C, Kasatpibal N, Kunaviktikul W, and Kayee T. (2014). Prognostic Factors and Complications in Patients With Operational Peptic Ulcer Perforation in Northern Thailand Gastroenterology Res, 7(1): 5–11

ปราโมทย์ โคตรพันธุ์กูล. (2561). รายงานผลการรักษาและปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังการผ่าตัดแผลกระเพาะอาหารทะลุในโรงพยาบาลเลย. วารสารการแพทย์โรงพยาบาลอุดรธานี, 26(2): 178-188.

İlhan Tas, Burak Veli lger, Akın nder, Murat Kapan, Zbeyir Bozdag. (2015). Risk factors influencing morbidity and mortality in perforated peptic ulcer disease. Ulusal Cer Derg, 31: 20-5

Ciftci. F, Erozgen. F. (2018). Patients With Perforated Peptic Ulcers: Risk Factors for Morbidity and Mortality. Int Surg,103: 578–584

Kim JM, Jeong SH,Lee YJ, ParkST, ChoiSK, Hong SC,et al. (2012). Analysis of Risk Factors for Postoperative Morbidity in Perforated Peptic Ulcer. J Gastric Cancer, 12(1):26-35.

Nan-Hua Chou. et, al. (2000). Risk Factors of Mortality in Perforated Peptic Ulcer. Eur J Surg, 166: 149–153

Kenneth T, Soreide JA, SoreideK. (2014). What Is the Best Predictor of Mortality in Perforated Peptic Ulcer Disease. A Population-Based, Multivariable Regression Analysis Including Three Clinical Scoring Systems. J Gastrointest Surg, 18(1):1261-8.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-10-31

How to Cite

จาวรุ่งฤทธิ์ พ. . . (2024). ปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนและการเสียชีวิตในผู้ป่วยแผลเป็บติกทะลุใน โรงพยาบาลพระนารายณ์มหาราช. วารสารอนามัยสิ่งแวดล้อมและสุขภาพชุมชน, 9(5), 431–438. สืบค้น จาก https://he03.tci-thaijo.org/index.php/ech/article/view/3425