การพยาบาลผู้ป่วยโรคมะเร็งที่แพร่กระจายในช่องท้อง มีภาวะอุดตันของลำไส้ ร่วมกับภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด: กรณีศึกษา

ผู้แต่ง

  • วันดี ยิ้มย่อง กลุ่มงานการพยาบาลผู้ป่วยศัลยกรรม กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลพระนารายณ์มหาราช

คำสำคัญ:

โรคมะเร็ง, มะเร็งแพร่กระจาย, ภาวะอุดตันของลำไส้, ภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด

บทคัดย่อ

     การศึกษานี้เป็นกรณีศึกษา มีวัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาการพยาบาลผู้ป่วยโรคมะเร็งที่แพร่กระจายในช่องท้อง มีภาวะอุดตันของลำไส้ร่วมกับภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด โดยศึกษาในผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 66 ปี เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลวันที่ 22 กรกฎาคม 2567 ด้วยอาการสำคัญ ปวดแน่นท้อง ไม่ผายลม ไม่ถ่ายอุจจาระ 3 วัน ก่อนมาโรงพยาบาล
     ผลการศึกษา: แพทย์วินิจฉัย Gut obstructionได้รับการผ่าตัด Explor – lap with Small bowel resection ileo-colic anastomosis การวินิจฉัยครั้งสุดท้าย แพร่กระจายในช่องท้อง (peritoneal metastasis) ก่อนผ่าตัด ผู้ป่วยไม่สุขสบายปวดท้อง เสี่ยงติดเชื้อในกระแสเลือด มีความวิตกกังวล ให้การพยาบาลโดยให้สารน้ำ บรรเทาความปวด และเฝ้าระวังการติดเชื้อในกระแสเลือด หลังผ่าตัด มีภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจน ได้รับการใส่ท่อช่วยหายใจ มีภาวะติดเชื้อในกระแสเลือดแผลผ่าตัดติดเชื้อ ได้ให้การพยาบาลระหว่างใส่เครื่องช่วยหายใจ ลดการติดเชื้อ และถอดท่อหายใจได้ ผู้ป่วยอาการดีขึ้นตามลำดับ จำหน่ายวันที่ 6 สิงหาคม 2567 รวมวันนอนโรงพยาบาล 18 วัน

References

International Diabetes Federation 2021 Diabetes in Thailand [database on the Internet]. [cited 2021 May 4]. Available from: http:// www.idf.org/ membership /wp/Thailand

International Diabetes Federation [IDF]. IDF Clinical Practice Recommendaations on The Diabetic Foot-2017 [database on the Internet]. 2017. [cited 2017 May 6]. Available from: http://www.idf.org/site/ default, diabetic-foot.pdf

Diabetes Association of Thailand. Clinical Practice Guideline for Diabetes 2017. Bankok: Romyen media

งานสารสนเทศโรงพยาบาลพระนารายณ์มหาราช. สถิติผู้ป่วยโรคเบาหวานปี 2562-2564, 2565.

ประนอม สายแวว, เพลินพิศ บุณยมาลิก, วรรณา จงจิตรไพศาล และอรวรรณ แก้วบุญชู. การประยุกต์ทฤษฎีให้เกิดการปรับพฤติกรรมสุขภาพเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด. วารสารการแพทย์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ; 2564: 29(1): 67-82.

พิมพ์ลักษณ์ รังษีภโนดร, ชัชวาล วงค์สารี และอัมพร เจียงวิริชัยกูร. การประยุกต์ใช้ทฤษฎีการดูแลตนเองของโอเร็มในการดูแลป้องกันการเกิดแผลที่เท้าของผู้ป่วยโรคเบาหวาน. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย; 12 (3): 89-100

Orem, D. E., Taylor, S. G., & Renpenning, K. M. Nursing: Concepts of practice. St. Louis: Mosby; 2001.

สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. เครื่องมือการประเมินคุณภาพแนวปฏิบัติสำหรับการวิจัยและประเมินผล. 2556.

กันธิมา ศรีหมากสุก. ผลลัพธ์ของการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลทางคลินิกในการป้องกันการเกิดแผลที่เท้า ของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2. วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยคริสเตียน; 2557.

เพ็ญศรี แคนยุกต์, อัญชลี พรดำรัศมี, สัตตบงกช คีรีรัตน์. พัฒนารูปแบบการพยาบาลผู้ป่วยเท้าเบาหวาน โรงพยาบาลตรัง. วารสารวิชาการสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม. 2564; 6(11): 1-23.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-10-31

How to Cite

ยิ้มย่อง ว. . . . (2024). การพยาบาลผู้ป่วยโรคมะเร็งที่แพร่กระจายในช่องท้อง มีภาวะอุดตันของลำไส้ ร่วมกับภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด: กรณีศึกษา. วารสารอนามัยสิ่งแวดล้อมและสุขภาพชุมชน, 9(5), 674–684. สืบค้น จาก https://he03.tci-thaijo.org/index.php/ech/article/view/3464