ผลการผ่าตัดถุงน้ำดี และปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเปลี่ยนผ่าตัดถุงน้ำดีผ่านกล้องเป็นการผ่าตัดแบบเปิด ในโรงพยาบาลสระบุรี
คำสำคัญ:
การผ่าตัดถุงน้ำดีผ่านกล้อง, การผ่าตัดถุงน้ำดีแบบเปิดบทคัดย่อ
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการผ่าตัดถุงน้ำดี และปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเปลี่ยนผ่าตัดถุงน้ำดีผ่านกล้องเป็นการผ่าตัดแบบเปิด ในโรงพยาบาลสระบุรี เป็นการศึกษาแบบย้อนหลัง กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยที่มารับการผ่าตัดถุงน้ำดี ตั้งแต่เดือนเดือนตุลาคม พ.ศ. 2561 ถึงเดือน กันยายน พ.ศ. 2566 จำนวน 195 คน รวบรวมข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วย และผลการผ่าตัด วิเคราะห์ปัจจัยด้วย logistic regression และ Multiple logistic regression ในการประเมิน odd ratio โดยค่า p<0.05
ผลการวิจัย: จากจำนวนผู้ป่วย 195 คน เป็นเพศหญิงจำนวน 106 คน (54.3) เพศชายจำนวน 89 คน (45.7) อายุเฉลี่ย 51.23 ปี อายุเฉลี่ย 51.23 ปีประสบความสำเร็จในการผ่าตัดผ่านกล้องจำนวน 171 คน เปลี่ยนเป็นการผ่าตัดแบบเปิดจำนวน 24 คน ปัจจัยทีมีผลต่อการผ่าตัดแบบเปิดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ ผ่าตัดในช่วง 6-10 สัปดาห์หลังอาการสงบ, โรคร่วมเบาหวาน, การรักษาถุงน้ำดีด้วยยาปฏิชีวนะมาก่อน, ประวัติการผ่าตัดช่องท้องมาก่อน
References
Prathanvanich P. Single Incision Laparoscopic Cholecystectomy : SILC. Healthy Bangkok. 2016;4(2):6-8.
Manositisak P. Comparative Study Between Modified Three–Port and Standard Four–Port Laparoscopic Cholecystectomy in Kalasin Hospital. Srinagarind MJ, 2010; 25(3) :228-32.
ราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แห่งประเทศไทย. แนวทางการรักษาพยาบาลผู้ป่วยทางศัลยกรรม โรคนิ่วในทางเดินน้ำดี. www.rcst.or.th/ view.php?group=4&id=204, 2566.
งานสารสนเทศ โรงพยาบาลสระบุรี. สถิติผู้ป่วย 2561-2566. โรงพยาบาลสระบุรี.
ศิวดล ทัศนเมธี. ปัจจัยเสี่ยงในการเปลี่ยนการผ่าตัดถุงน้ำดีผ่านกล้องเป็นการผ่าตัดแบบเปิดในโรงพยาบาลพุทธโสธร. วารสารโรงพยาบาลชลบุรี. 2563; 45(3): 182-189.
อรรถพร ปฏิวงศ์ไพศาล. ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนผ่าตัดถุงน้ำดีแบบส่องกล้องเป็นการผ่าตัดแบบเปิดหน้าท้อง โรงพยาบาลเทพรัตน์นครราชสีมา. วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม, 2562; 16(3): 176-182.
Lujan J, Parrilla P, RoblesbR, Marin P, Torralba J, Garcia-Ayllon J. Laparoscopic Cholecystectomy vs Open Cholecystectomy in the Treatment of Acute cholecystitis. Arch Surg 1998; 133(2):173-5.
Fried GM, Barkun JS, Sigman HH, Joseph L, Clas D, Garzon J, Hinchey EJ, Meakins JL. Factors determining conversion to laparotomy in patients undergoing laparoscopic cholecystectomy . Am J Surg. 1994;167(1):35-9.
ธวัชชัย พูนแก้ว. ปัจจัยที่มีผลต่อความยากในการผ่าตัด นิ่วถุงน้ำดีผ่านกล้องในโรงพยาบาลพัทลุง. วารสารวิชาการแพทย์ เขต 11, 2559; 30:251-260.
Zhenfeng G, Peizhi L, Fangshang C, Dingyong T.The Clinical Analysis of Bile Duct Injury during Laparoscopic Cholecystectomy. InternationalJournal of Clinical Medicine. 2015;6:825-30.
Stanisic V, Milicevic M, KocevN, Stojanovic M, V;aovic D, Babic I, Vucetic N. Prediction of difficulties in laparoscopic cholecystectomy on the base of routinely available parameters in a smaller regional hospital.European Review of Medical and Pharmacological Scientces. 2014;18:1204-11.