ประสิทธิภาพการพยากรณ์การเสียชีวิตในผู้ป่วยหลังผ่าตัดแผลในกระเพาะอาหาร โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชกุฉินารายณ์ พ.ศ. 2563-2567

ผู้แต่ง

  • จุฑามาศ ปัททุม นายแพทย์ชำนาญการ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชกุฉินารายณ์

คำสำคัญ:

การพยากรณ์การเสียชีวิต, หลังการผ่าตัด, แผลในกระเพาะอาหาร

บทคัดย่อ

     การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจแบบย้อนหลัง มีวัตถุประสงค์เพื่อหาประสิทธิภาพการพยากรณ์การเสียชีวิตในผู้ป่วยหลังผ่าตัดแผลในกระเพาะอาหาร โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชกุฉินารายณ์ พ.ศ. 2563-2567 อำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยหลังผ่าตัดแผลในกระเพาะ จำนวน 480 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม โดยวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา ในการหาค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean), ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation), ค่าต่ำสุด (Minimum), ค่าสูงสุด (Maximum) และสถิติเชิงอนุมานใช้สถิติ Chi-square test และ และ การหาขนาดของความสัมพันธ์ ใช้ค่าของ Odd Ratio, 95%CI กำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05
     ผลการศึกษา: พบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเสียชีวิตในผู้ป่วยหลังผ่าตัดแผลในกระเพาะอาหาร โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชกุฉินารายณ์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 คือ ผู้ป่วยที่มีโรคเบาหวานมีโอกาสเสียชีวิตสูงกว่า 30 เท่า เมื่อเทียบกับผู้ที่ไม่มีโรคเบาหวาน (OR = 30.74, 95%CI = 12.86 – 73.52, p-value < 0.001), ผู้ป่วยที่มีโรคตับมีโอกาสเสียชีวิตสูงกว่า 35 เท่า เมื่อเทียบกับผู้ที่ไม่มีโรคตับ (OR = 35.769, 95%CI = 20.929 – 61.132, p-value < 0.001), ผู้ป่วยที่มีโรคมะเร็งมีโอกาสเสียชีวิตสูงกว่า 38 เท่า เมื่อเทียบกับผู้ที่ไม่มีโรคมะเร็ง (OR = 38.667, 95%CI = 22.121 – 67.586, p-value < 0.001) และการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะมีความสัมพันธ์กับการเสียชีวิต โดยพบว่าโอกาสเสียชีวิตสูงกว่า 23 เท่า เมื่อเปรียบเทียบกับผู้ที่ไม่ติดเชื้อ (OR = 23.600, 95%CI = 15.369 – 36.239, p-value < 0.001)

References

Testini M, Portincasa P, Piccinni G, Lissidini G, Pellegrini F, Greco L. Significant factors associated with fatal outcome in emergency open surgery for perforated peptic ulcer. *World J Gastroenterol.* 2003;9(10):2338-2340. doi:10.3748/WJG.V9.I10.2338

Bas G, Eryılmaz R, Okan I, Şahin M. Risk factors of morbidity and mortality in patients with perforated peptic ulcer. *Acta Chir Belg.* 2008;108(4):424-427. doi:10.1080/00015458.2008.11680254

Søreide K, Thorsen K, Harrison EM, Bingener J, Møller MH, Ohene-Yeboah M, et al. Perforated peptic ulcer. *Lancet.* 2015;386(10000):1288-1298. doi:10.1016/S0140-6736(15)00276-7

Arveen S, Jagdish S, Kadambari D. Perforated peptic ulcer in South India: An institutional perspective. *World J Surg.* 2009;33(9):1600-1604. doi:10.1007/s00268-009-0056-9

Møller MH, Adamsen S, Wøjdemann M, Møller AM. Perforated peptic ulcer: How to improve outcome? *Scand J Gastroenterol.* 2009;44(1):15-22. doi:10.1080/00365520802307997

Thorsen K, Søreide JA, Søreide K. Long-term mortality in patients operated for perforated peptic ulcer: Factors limiting longevity are dominated by older age, comorbidity burden and severe postoperative complications. *World J Surg.* 2017;41(2):410-418. doi:10.1007/s00268-016-3747-z

Zhang X, Hou A, Cao J, Liu Y, Lou J, Li H, et al. Association of Diabetes Mellitus with Postoperative Complications and Mortality After Non-Cardiac Surgery: A Meta-Analysis and Systematic Review. Front Endocrinol (Lausanne). 2022;13:841256. doi: 10.3389/fendo.2022.841256. Available from: https://www.frontiersin.org/articles/10.3389/fendo.2022.841256/full.

Curran S, Apruzzese P, Kendall MC, De Oliveira G. The impact of hypoalbuminemia on postoperative outcomes after outpatient surgery: a national analysis of the NSQIP database. Can J Anaesth. 2022;69(9):1099-1106. doi: 10.1007/s12630-022-02280-7. Available from: https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/35761062/.

Shen R, Wu Y, Cheng Y. The impact of corporate social responsibility on firm value: The role of customer awareness. J Financ Econ. 2021;142:675-690. Available from: https://www.sciencedirect.com/science/article/abs/pii/S1056872719312334?via%3Dihub

ไพบูลย์ เพ็ญสุวรรณ, ภาสกร โสดารัตน์, ยุทธพงษ์ ชำนาญเอื้อ, พุฒิพงษ์ ศักดิ์แสน, อรทัย สืบเมืองซ้าย. อัตราการรอดชีพของผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดีและปัจจัยที่มีผลหลังการผ่าตัดในโรงพยาบาลร้อยเอ็ด [อินเทอร์เน็ต]. วารสารวิชาการสาธารณสุข. 2559;25(1):137-46. [เข้าถึงเมื่อ 10 ธ.ค. 2567]. เข้าถึงได้จาก: https://thaidj.org/index.php/JHS/article/view/234/226

Elabd NS, Mohammed HI, Abd Alrahman AI, Eid MA, Seleem HEM. Risk of surgery in patients with liver cirrhosis. Afro-Egyptian Journal of Infectious and Endemic Diseases. 2022;12(4):367-82. Available from: https://aeji.journals.ekb.eg/

Kosuge T, Yamamoto J, Shimada K, Yamasaki S,Makuuchi M. Improved surgical results for hilarcholangiocarcinoma with procedures including major he-patic resection. Ann Surg 1999;230:66.

วรรณา ตาลเพชร. การพยาบาลผู้ป่วยโรคเนื้อเน่าที่มีภาวะติดเชื้อในกระแสเลือดอย่างรุนแรง: กรณีศึกษา. วารสารสิ่งแวดล้อมศึกษา การแพทย์ และสุขภาพ. 2024 Sep 30;9(3):444-454.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-31

How to Cite

ปัททุม จ. . (2024). ประสิทธิภาพการพยากรณ์การเสียชีวิตในผู้ป่วยหลังผ่าตัดแผลในกระเพาะอาหาร โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชกุฉินารายณ์ พ.ศ. 2563-2567 . วารสารอนามัยสิ่งแวดล้อมและสุขภาพชุมชน, 9(6), 421–429. สืบค้น จาก https://he03.tci-thaijo.org/index.php/ech/article/view/3605