ประสิทธิผลของโปรแกรมการเสริมสร้างการรับรู้ความสามารถแห่งตนของอาสาสมัครสาธารณสุข ประจำหมู่บ้านในการดูแลประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ตำบลวังพร้าว อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง

ผู้แต่ง

  • ภัทรภร กิตติไชยากร นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านวังพร้าว จังหวัดลำปาง
  • ขนิษฐา มลิหอม พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านวังพร้าว จังหวัดลำปาง
  • ประยุทธ ศรีกระจ่าง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำปาง

คำสำคัญ:

การรับรู้ความสามารถแห่งตน, อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน, เบาหวาน, ความดันโลหิตสูง, กลุ่มเสี่ยง

บทคัดย่อ

     การวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการเสริมสร้างการรับรู้ความสามารถแห่งตนของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในการดูแลประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ตำบลวังพร้าว อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง พัฒนาโปรแกรมโดยใช้กรอบแนวคิดการรับรู้ความสามารถแห่งตนของแบนดูราและเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยเครื่องมือที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 30 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนาและการทดสอบ Paired sample t-test
     ผลการศึกษาพบว่า หลังเข้าร่วมโปรแกรมกลุ่มตัวอย่างมีความรู้สูงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรม (p-value < 0.001) การรับรู้ความสามารถแห่งตนในการดูแลประชากรกลุ่มเสี่ยงสูงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรม (p-value = 0.011) และพฤติกรรมในการดูแลประชากรกลุ่มเสี่ยงสูงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรม (p-value < 0.001)

References

Thonghong A, et al. Chronic Diseases Surveillance Repor. Weekly Epidemiological Surveillance Report. 2011;43(17):257-64.

อมรรัตน์ ภิรมย์ชม, อนงค์ หาญสกุล. การรับรู้สุขภาวะและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในอำเภอหนองบัวระเหว จังหวัดชัยภูมิ. วารสารพลศึกษา. 2555;15(1):129-41.

เนติมา คูนีย์. พฤติกรรมการบริโภคอาหารของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ที่มารับบริการคลินิกเบาหวาน โรงพยาบาลกุดจับ จังหวัดอุดรธานี วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 2563;13(1):22-32.

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำปาง. รายงานประสิทธิผลการดำเนินงานควบคุมและป้องกันกลุ่มป่วยโรคเรื้อรังปี 2564. ลำปาง: สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำปาง; 2564.

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านวังพร้าว. อัตราป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (ข้อมูล HDC). ลำปาง: โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านวังพร้าว; 2566.

ปิยนุช ภิญโย, กิตติภูมิ ภิญโย, สายสุดา จันหัวนา, วชิรศักดิ์ อภิพัฒฐ์กานต์, ธรณิศ สายวัฒน์, อมรรัตน์ อัครเศรษสกุล. ประสิทธิผลของโปรแกรมเสริมสร้างความสามารถแห่งตนต่อความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการดูแลของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำ หมู่บ้านในการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชน จังหวัดขอนแก่น. . วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์. 2560;37(3):109-20.

Bandura A. Self-efficacy: toward a unifying theory of behavioral change. Psychol Rev. 1977;84(2):191-215.

อุไรรัตน์ คูหะมณี, ยุวดี รอดจากภัย, นิภา มหารัชพงศ์. ความรอบรู้ด้านสุขภาพกับบทบาทของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) ในการป้องกันโรคเรื้อรัง. วารสารกรมการแพทย์. 2563;45(1):137-42.

ศักดิ์ดา ธานินทร์, พิชญา ตาจุ่ม. รูปแบบความรอบรู้เรื่องโรคความดันโลหิตสูงของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) จังหวัดเชียงราย. เชียงรายเวชสาร. 2566;15(3):132-42.

สมโภช รติโอฬาร, ณัชปภา คัชมาตย์, วรางคณา จันทร์คง. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติงานป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูงของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านอำเภอโพธิ์ประทับช้าง จังหวัดพิจิตร. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช; 2561.

กฤตยา แสวงทรัพย์ , เอื้อญาติ ชูชื่น. การรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพกายและสุขภาพจิตชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน. วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์). 2562;11(22):1-12.

วิษณุ มากบุญ. รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุการปฏิบัติงานป้องกันและควบคุมโรคเบาหวานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน อำเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์. วารสารวิชาการทางการพยาบาลและวิทยาศาสตร์สุขภาพ. 2565;2(1):17-28.

ไมลา อิสสระสงคราม. การรับรู้ความสามารถของตนเองต่อการมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตามสุขบัญญัติของอาสาสมัครสาธารณสุขในเขตเทศบาลนครนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี. วารสารสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 ขอนแก่น. 2562;26(3):72-82.

ทัตติกา ฉัตรชัยพันธ์, สุวรรณา จันทร์ประเสริฐ, สมสมัย รัตนกรีฑากุล. ผลของการเสริมสร้างพลังอำนาจอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านต่อการรับรู้สมรรถนะแห่งตนและพฤติกรรมการดูแลผู้เป็นเบาหวานในชุมชน. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. 2559;24(3):83-93.

เกสิรินทร์ ไทยเสน, นงณภัทร รุ่งเนย. ผลของโปรแกรมพัฒนาสมรรถนะอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง อำเภอท่าชนะ จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารสุขภาพและการศึกษาพยาบาล. 2567;30(3):37-55.

ณฐา เชียงปิ๋ว, วราภรณ์ บุญเชียง, ศิวพร อึ้งวัฒนา. ผลของการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมเกี่ยวกับการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองต่อความรู้และการรับรู้สมรรถนะแห่งตนของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน. พยาบาลสาร. 2561;45(1):87-99.

กิติพงษ์ เรือนเพ็ชร, วาสุกรี สายเพ็ชร์. ประสิทธิผลของโปรแกรมการพัฒนาสมรรถนะแห่งตนสำหรับอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน จังหวัดบุรีรัมย์. วารสารพยาบาล. 2567;73(4):11-20.

จุฑามาศ ติลภัทร, วันเพ็ญ แก้วปาน, ขวัญใจ อำนาจสัตย์ซื่อ. ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังเพื่อชะลอความเสื่อมของไต สำหรับอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุพรรณบุรี. 2567;7(2):5-20.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-31

How to Cite

กิตติไชยากร ภ., มลิหอม ข., & ศรีกระจ่าง ป. (2024). ประสิทธิผลของโปรแกรมการเสริมสร้างการรับรู้ความสามารถแห่งตนของอาสาสมัครสาธารณสุข ประจำหมู่บ้านในการดูแลประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ตำบลวังพร้าว อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง. วารสารอนามัยสิ่งแวดล้อมและสุขภาพชุมชน, 9(6), 785–795. สืบค้น จาก https://he03.tci-thaijo.org/index.php/ech/article/view/3680