รูปแบบการพัฒนาการประกันคุณภาพบริการพยาบาล: ถอดบทเรียนโรงพยาบาลตติยภูมิ
คำสำคัญ:
Development, Quality assurance of nursing service, Tertiary care hospitalบทคัดย่อ
การบริการพยาบาล เป็นบริการหลักที่สำคัญของระบบบริการสาธารณสุขในสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงทางสังคมหลายมิติ การบริการพยาบาลจึงต้องปรับตัวและพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ทันกับปัญหาสุขภาพของประชาชนและความก้าวหน้าทางการแพทย์และเทคโนโลยีโดยเฉพาะการบริการพยาบาลในโรงพยาบาลตติยภูมิซึ่งเป็นศูนย์ความเป็นเลิศและให้บริการผู้ป่วยที่ซับซ้อน การพัฒนาคุณภาพการบริการพยาบาลจึงเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งที่จะทำให้เกิดความปลอดภัยทั้งต่อผู้ป่วยและบุคลากรทางการพยาบาลรวมทั้งการประกันคุณภาพจะทำให้เกิดความเชื่อมั่นของผู้รับบริการ บทความนี้ได้นำเสนอขอคิด/ความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวคิดและหลักการ การศึกษาที่ผ่านมา และบทเรียนการดำเนินงานในโรงพยาบาลตติยภูมิ เพื่อแบ่งปันบทเรียนในการพัฒนาการประกันคุณภาพการบริการพยาบาลอันจะส่งผลให้เกิดประโยชน์สูงสุดของประชาชนผู้ใช้บริการ
Downloads
References
เกษร สังข์กฤษ, ไพลิน นัดสันเทียะ, วิภา แก้วเคน, และปิยนุช บุญกอง. (2558). การพัฒนาคุณภาพระบบบริการพยาบาลผู้ป่วยหนัก จังหวัดสกลนคร. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ, 30(2), 110-121
กองการพยาบาล สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. (2562). การประเมินคุณภาพการพยาบาลในโรงพยาบาล กระทรวงสาธารณสุข. บริษัท สำนักพิมพ์สื่อตะวัน จำกัด จังหวัดปทุมธานี.
มะลิวรรณ อังคณิตย์, เรวดี สมทรัพย์, และ บุษบา วงค์พิมล. (2563). รูปแบบการพัฒนาคุณภาพระบบบริการพยาบาลโดยกระบวนการ มีส่วนร่วมของกลุ่มงานวิจัยและพัฒนาการพยาบาล โรงพยาบาลร้อยเอ็ด. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ, 38(1), 107-116. https://he01.tci-thaijo.org/index.php/jnat-ned/article/view/218653/163785
สำนักการพยาบาล สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข. (2554). การประกันคุณภาพการพยาบาล: การประเมินคุณภาพการบริการพยาบาลผู้ป่วยหนัก. บริษัทสามเจริญพาณิชย์ (กรุงเทพ) จำกัด.
สยาม ชิ้นพงค์ และช่อทิพย์ บรมธนรัตน์. (2559). ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมของบุคลากรในการพัฒนาคุณภาพบริการ ตามมาตรฐานคุณภาพโรงพยาบาล โรงพยาบาลร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสารสุขภาพกับการจัดการสุขภาพ, 3(2), 23-38. http://jhhm.slc.ac.th/wp-content/uploads/2020/02/article-file-3-1.pdf
เยาวเรศ ก้านมะลิ. (2564). การพัฒนารูปแบบบริการพยาบาลเพื่อป้องกันการพลัดตกหกล้มของผู้ป่วยที่รับรักษาในโรงพยาบาล. มหาราชนครศรีธรรมราชเวชสาร, 4(2) ,76-88. https://he01.tci-thaijo.org/index.php/MNSTMedJ/article/view/248282/168139
อโนทัย ผลิตนนท์เกียรติ, และทิพยรัตน์ แก้วศรี. (2560). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมในการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลของบุคลากร โรงพยาบาลบางจาก จังหวัดสมุทรปราการ. วารสารอิเล็กทรอนิกส์การเรียนรู้ทางไกลเชิงนวัตกรรม, 7(1), 40-54. https://so01.tci-thaijo.org/index.php/e-jodil/article/view/238872/163176
Alexander, C., Tschannen, D., Argetsinger, D., Hakim, H., & Milner, K. A. (2022). A qualitative study on barriers and facilitators of quality improvement engagement by frontline nurses and leaders. Journal of Nursing Management, 30(3), 694-701.
Hafeez, M., Naureen, S., & Sultan, S. (2022). Quality Indicators and Models for Online Learning Quality Assurance in Higher Education. Electronic Journal of e-Learning, 20(4), 374-385. https://academic-publishing.org/index.php/ejel/article/view/2553/2077
Halmin, M., Abou Mourad, G., Ghneim, A., Rady, A., Baker, T., & Von Schreeb, J. (2022). Development of a quality assurance tool for intensive care units in Lebanon during the COVID-19 pandemic. International Journal for Quality in Health Care, 34(2), https://doi.org/10.1093/intqhc/mzac034
Hogan Quigley, B., Renz, S. M., & Bradway, C. (2022). Fall prevention and injury reduction utilizing continuous video monitoring: a quality improvement initiative. Journal of nursing care quality, 37(2), 123-129.
Sheeran, L., Ridgway, L., Buchanan, K., & Wilson, D. (2022). Consultation to review clinical placement processes: A quality assurance project. Nurse Education in Practice, 61, https://doi.org/103331
Underwood, F., Dickinson, L., O’Keeffe, K., & George, B. (2022). Strengthening quality assurance by implementing an evidence-based revision of a ward accreditation programme. Nursing Management, 29(3).
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พุทธชินราช

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.