การศึกษาสารพฤกษเคมีเบื้องต้น ฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระ และองค์ประกอบทางเคมีของน้ำมันหอมระเหยจากหัวกระทือด้วยเทคนิค GC-MS

ผู้แต่ง

  • สุกิจ ทองแบน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
  • วาสนา ประภาเลิศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
  • อัครสิทธิ์ บุญส่องแท้ โรงเรียนจิตราวิทยา
  • กัญญ์วรา หล่ายข้าม มหาวิทยาลัยแม่โจ้
  • รุ่งทิพย์ กาวารี มหาวิทยาลัยแม่โจ้

คำสำคัญ:

ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ, กระทือ, น้ำมันหอมระเหย

บทคัดย่อ

             งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสารพฤกษเคมีเบื้องต้น ฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระเบื้องต้นของน้ำมันหอมระเหย และการศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของน้ำมันหอมระเหยจากหัวกระทือด้วยเทคนิค GC-MS ผลจากการศึกษาองค์ประกอบทางเคมีเบื้องต้นของสารสกัดเอทานอลของหัวกระทือพบซาโปนิน  แอลคาลอยด์  แอนทราควิโนน  แทนนิน   และคาร์ดิ-แอกไกลโคไซด์  น้ำมันหอมระเหยมีลักษณะใส  ไม่มีสี  และมีกลิ่นฉุนเฉพาะ คิดเป็นร้อยละ 0.13% w/w  ซึ่งเมื่อนำน้ำมันหอมระเหยที่ได้  มาทดสอบการต้านอนุมูลอิสระเบื้องต้นด้วยเทคนิค  TLC Screening  for DPPH  Radical  Scavenger  พบว่ามีฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระและจากการศึกษาองค์ประกอบทางเคมีด้วยเทคนิค  GC - MS   ของน้ำมันหอมระเหย พบว่า   มีองค์ประกอบทางเคมีมากกว่า   50   ชนิด     ซึ่งมีองค์ประกอบหลัก    ได้แก่    3-Cyclohexen-1-ol, Sabinene, Bicyclo[3.1.1]heptane, 2,6,10-Cycloundecatrien-1-one, 9- Octadecenamide, Oleic acid, Benzene and derivative, 1, 8-Cineole, alpha-Pinene และ alpha-Humulene

References

กรมการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข. (2560). ประมวลสรรพคุณสมุนไพร เล่ม 2. กรุงเทพฯ: แมกเนท สโตร์.

กรมการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข. (ม.ป.ป.). กระทือ. https://ittm.dtam.moph.go.th/images/knowleaga/3/5213-15.pdf .

จันทร์เพ็ญ โคตรภูธร. (2559). การสกัดสารพฤกษเคมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและต้านเชื้อแบคทีเรียของสารสกัดหยาบจากเพกา. http://digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/ files/57920925.pdf.

จุฑารัตน์ ศรีประเสริฐ. (2559). การทดสอบสารพฤกษเคมีและฤทธ์ิทางชีวภาพของแคนา. http://digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/56920125.pdf.

ฐานข้อมูลเครื่องยาสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. (ม.ป.ป.). มะนาว. http://www.thaicrudedrug.com/main.php?action=viewpage&pid=105.

ณพัฐอร บัวฉุน. (2562). สารพฤกษเคมีเบื้องต้น และฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสลัดน้้าพืชสดและพืชแห้ง. file:///C:/Users/Acer/Downloads/twessapan.

ทรรศนีย์ พัฒนเสรี. (ม.ป.ป.). องค์ประกอบทางเคมีและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของน้้ามันหอมระเหยไพลที่ปลูกแทรกในสวนป่า. http://forprod.forest.go.th/forprod/PDF/.

นลิน วงศ์ขัตติยะ, ทวินันท์ หาญประเสริฐ, พันธุ์ชนะ สงวนเสริมศรี, รุ่งทิพย์ กาวารี, Ian H. Fraser และดลฤดี สงวนเสริมศรี. (2559). ฤทธิ์ของน้้ามันหอมระเหยมหาหงส์ในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียสาเหตุของสิว. https://e-manage.mju.ac.th/openFile.aspx?id=Mjl1NDUw.

ปาริชาติ พจนศิลป์. (2561). ศึกษาการสกัดสารแทนนินจากเปลือกมะพร้าวอ่อน.https://www.doa.go.th/hc/chumphon/wp-content/uploads/2021/01/ศึกษาการสกัดสารแทนนินจากเปลือกมะพร้าวอ่อน.pdf.

พัชรินทร์ อินทร์ทอง. (2555). น้ำมันหอมระเหยสารสกัดจากพืชสมุนไพร. https://www.gotoknow.org/posts/478781.

พรรณีเด่นรุ่งเรือง. (2550). ฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระของเปลือกต้นวงศ์อบเชย. กรุงเทพฯ: สำนักวิจัยการจัดการป่าไม้ และผลิตผลป่าไม้กรมป่าไม้.

รักบ้านเกิด. (2563). สารประกอบทางเคมีและเภสัชวิทยาของพืชสมุนไพร. https://today.line.me/th/v2/article/xEvwVP.

รัตนา อินทรานุปกรณ์. (2547). การตรวจสอบ และการสกัดแยกสารส้าคัญจากสมุนไพร. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: ส้านักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล. (2561). ฤทธิ์ทางชีวภาพและการตรวจสารพฤกษเคมีเบื้องต้นของรากสิบสองราศี.วารสารวิชาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์. 10(11), 94.

วาทินี เสล่ราษฎร์. (2559). การสกัด การตรวจสอบสารพฤกษเคมี ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ และต้านเชื้อแบคทีเรียของทุเรียนเทศ. http://digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/ files/57920933.pdf.

ศูนย์เครื่องมือกลาง หน่วยปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล วิยาเขตกาญจนบุรี. (2558). GC-MS. https://ka.mahidol.ac.th/division/research_academic_ supports/MUKACIF/cen02.html.

หทัยชนก ชัยเมืองเขียว. (2556). การศึกษาปริมาณสาร α-Pinene ที่มีสารละลายในน้้ามันหอมระเหยจากส่วนใบของว่านสาวหลงโดยเทคนิคแก๊สโครมาโทรกราฟี(รายงานการวิจัย). เชียงใหม่: คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.

อภิสรา อินทะรังสี. (2555). ศึกษาฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระของน้้ามันหอมระเหยจากว่านกระแจะจันทร์เพื่อนำมาทำเป็นโลชั่นทาผิว (รายงานการวิจัย). เชียงใหม่: คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.

Keita และ คณะ. (2543). สรรพคุณ และการใช้ประโยชน์. https://puechka set.com/กระทือ/.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

11-02-2023