ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูงของกลุ่มเสี่ยงในเขตพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านห้วยนกกก
คำสำคัญ:
พฤติกรรมสุขภาพบทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูงของกลุ่มเสี่ยง ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านห้วยนกกก กลุ่มตัวอย่างคัดเลือกจาก ฐานข้อมูลการคัดกรองความดันโลหิตสูงของปีงบประมาณ 2563 ได้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 73 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ด้วยแบบสอบถามข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพ 4 ด้าน ได้แก่ การรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ สภาวะจิตใจ
ผลการศึกษาพบว่า ด้านการรับประทานอาหาร มีการรับประทานอาหารที่เสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงลดลง ด้านการออกกำลังกาย มีการออกกำลังกายที่เหมาะสม แต่ยังมีพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (ร้อยละ 68.4) รู้สึกหดหู่ผิดหวัง ท้อแท้ซึมเศร้าที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรค (ร้อยละ 43.8) แต่พูดระบายความทุกข์หรือความไม่สบายใจกับบุคคลที่ท่านไว้วางใจมากที่สุด (ร้อยละ 54.8)
References
จุฬาลักษณ์ จันทร์หอม และ ลภัสรดา หนุ่มค า. (2563). ปัจจัยที่มีผลต่อกิจกรรมทางกายของประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงในอำเภอเมืองลำปาง จังหวัดลำปาง. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 28(3), 546-560.
ชดช้อย วัฒนะ, จงรักษ์ ศุภกิจเจริญ, ณฐวรรณ รักวงศ์ประยูร และ ปริญญา แร่ทอง. (2558). ผลของโปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะการจัดการตนเองเพื่อควบคุมโรคต่อพฤติกรรมการควบคุมโรค ระดับความดันโลหิต และคุณภาพชีวิตของผู้เป็นโรคความดันโลหิตสูงในการศึกษาระยะยาว. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้าจันทบุรี. 26(1), 72-89.
นริศรา แก้วบรรจักร, ประไพจิตร ชุมแวงวาปี และ กฤชกันทร สุวรรณพันธุ์. (2563). ปัจจัยที่มีความรอบรู้ทางสุขภาพที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงตำบลโคกสี อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น. วารสารสาธารณสุขและวิทยาศาสตร์สุขภาพ. 3(3), 1-15.
พิเชษฐ์ หอสูติสิมา. (2562). ผลของโปรแกรมสุขศึกษาในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงกลุ่มเสี่ยง ตำบลจระเข้หิน อำเภอครบุรี จังหวัดนครราชสีมา พ.ศ. 2560. วารสารวิชาการสำนักงานป้องกันและควบคุมโรคที่ 9.25(2), 56-66.
ภัสราวลัย ศีติสาร, อรุณวรรณ สุวรรณรัตน์และ จารุวรรณ ใจลังกา. (2556). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยภาวะความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ โรงพยาบาลดอกคำใต้ อ าเภอดอกคำใต้ จังหวัดพะเยา. วารสารสาธารณสุขล้านนา. 9(2), 120-136.
วานิช สุขสถาน. (2561). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงภายใต้นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า อำเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารกฎหมายสุขภาพและสาธารณสุข. 4(3), 431-441.
ศศิธร ตันติเอกรัตน์, ภัทราวดี มากมี, นิชาภา สุขสงวน และ นวพร สัตพันธ์. (2563). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง ในจังหวัดบุรีรัมย์ โดยใช้ทฤษฎี Precede Framework. วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 15(1), 59-73.
อัญชลี สามงามมี, เกสร ส าเภาทอง และ นนท์ธิยา หอมข า. (2563). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของบุคลากรสายสนับสนุน ในมหาวิทยาลัยราชภัฎลำปาง. วชิรเวชสารและวารสารเวชศาสตร์เขตเมือง. 64(2), 99-108.
อุมาพร ปุญญโสพรรณ, ผจงศิลป์ เพิงมาก และ จุฑามาศ ทองต าลึง. (2554). การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคและพฤติกรรมการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงของสตรีวัยทองในต าบลท่าฉาง อำเภอท่าฉาง จังหวัด สุราษฎร์ธานี. (วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารสาธารณสุข). มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์.
อุไรพร คล้ำฉิม. (2554). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงของผู้ที่มีความดันโลหิตสูงระยะเริ่มต้นในจังหวัดสมุทรสงคราม. (วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต,สาขาวิชาการบริหารสาธารณสุข). มหาวิทยาลัยบูรพา.
Joint National Committee on Prevention, Detection, Evaluation and Treatment of High Blood Pressure. The Sixth Report of the Joint National Committee on Prevention, Detection, Evaluation and Treatment of High Blood Pressure. Arch Intern Med 1997: 157; 2413-2446.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีนอร์ทเทิร์น
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.