ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคเบาหวานของกลุ่มเสี่ยงในเขตพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านห้วยนกกก

ผู้แต่ง

  • ประภาพร คำแสนราช วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น
  • รพีพรรณ ชมแผน วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น
  • สุเวช พิมน้ำเย็น วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น
  • ไพโรจน์ จันทรมณี วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น
  • ดาราวลี ใจสีคำ

คำสำคัญ:

พฤติกรรมสุขภาพ

บทคัดย่อ

           การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคเบาหวานของกลุ่มเสี่ยง  ในเขตพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านห้วยนกกก   กลุ่มตัวอย่างคัดเลือกจาก   ฐานข้อมูลการคัดกรองโรคเบาหวานของปีงบประมาณ 2563  ได้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน  จำนวน 60 คน  เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ด้วยแบบสอบถามข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพ  3 ด้าน ได้แก่  การรับประทานอาหาร  การออกกำลังกาย   สภาวะจิตใจ    ผลการศึกษาพบว่า   ด้านการรับประทานอาหาร มีการรับประทานอาหารที่เสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงลดลง  ด้านการออกกำลังกาย มีการออกกำลังกายที่เหมาะสม      รู้สึกเบื่อหน่าย      ที่จะต้องมีการควบคุมอาหารออกกำลังกาย (ร้อยละ 75.0)

References

เขมารดี มาสิงบุญ, สายฝน ม่วงคุ้ม และสุวรรณี มหากายนันท์. (2561). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมป้องกันการเกิดโรคเบาหวานในกลุ่มเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวาน. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข. 27(2), 214-227.

จารุรักษ์ นิตย์นรา และ ลาวรรณ ศรีสูงเนิน. (2562). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวานของหญิงตั้งครรภ์ในอำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา. วารสารศูนย์อนามัยที่ 9 วารสารส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม. 13(30), 27-43.

ถนัต จ่ากลาง. (2560). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลการจัดการสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จังหวัดขอนแก่น. วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. 4(2), 123-136.

ธัญชนก ขุมทอง, วิราภรณ์ โพธิศิริ และ ขวัญเมือง แก้วด าเกิง. (2559). ปัจจัยที่มีผลต่อความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในจังหวัดอุทัยธานีและอ่างทอง.Veridian E-Journal Science and Technology Silpakorn University. 3(6), 67-85.

ปัทมา สุพรรณกุล และ พัชรี ศรีทอง. (2558). โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของพระสงฆ์ที่ป่วยเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในเขตภาคเหนือตอนบน ประเทศไทย. วารสารพฤติกรรมศาสตร์. 21(1), 95-109.รัศมี ลือฉาย. (2554). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน อำเภอร่องคำ จังหวัดกาฬสินธุ์. วารสารวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ. 3(3), 19-29.

วนิดา ส่างหญ้านาง. (2557). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 โรงพยาบาลวิเชียรบุรีอ าเภอวิเชียรบุรีจังหวัดเพชรบูรณ์. (วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย). มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

วรรณรา ชื่นวัฒนา และ ณิชานาฏ สอนภักดี. (2557). พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ตำบลบางแม่นาง อำเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยปทุมธานี. 6(3), 163-170.

ศรีสุดา พรหมเอียด และ ฮายาตี ฮารี. (2562). ความชุกและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะเบาหวานขึ้นจอประสาทตาในผู้ป่วยเบาหวานโรงพยาบาลบันนังสตา จังหวัดยะลา. วารสารโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ. 4(3), 36-40.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

18-02-2023