การประเมินความเสี่ยงทางการยศาสตร์ในพนักงานแผนกหนึ่ง ของโรงงานผลิตวงล้อยานพาหนะ
คำสำคัญ:
การยศาสตร์, การประเมินความเสี่ยง, การประเมินความเสี่ยงทั้งร่างกายบทคัดย่อ
การวิจัยนี้เป็นการประเมินความเสี่ยงทางการยศาสตร์ ด้วยวิธีประเมินทั้งร่างกาย (REBA) กรณีศึกษาในพนักงานประจำสถานีงานขัดกลึงวงล้อ ของโรงงานผลิตวงล้อยานพาหนะแห่งหนึ่ง เครื่องมือที่ใช้วิจัยคือ แบบประเมินความเสี่ยงด้วยวิธี REBA ผลการประเมินความเสี่ยงในการทำงานพบว่า มีความเสี่ยงสูงมาก จึงได้มีการปรับปรุงสภาพการทำงานโดยจัดหาเหล็กด้ามยาวส่วนปลายมีขอสำหรับเกี่ยววงล้อให้พนักงานใช้เป็นอุปกรณ์ทุ่นแรงในการทำงาน และผลการประเมินความเสี่ยงด้วยวิธี REBA หลังปรับปรุงสภาพการทำงาน อยู่ในระดับปานกลาง ซึ่งควรปรับปรุงให้ดีขึ้นในโอกาสต่อไป
References
จันจิราภรณ์ วิชัย และ สุนิสา ชายเกลี้ยง (2557). การประเมินความเสี่ยงทางการยศาสตร์ในพนักงานที่มีการยกเคลื่อนย้ายวัสดุ. วารสารมหาวิทยาลัยขอนแก่น. 19(5), 708-719.
ชนิกาพร ใหม่ตัน และ นิวิท เจริญใจ. (2558). การประเมินความเสี่ยงในงานยกย้ายในการผลิตโถสุขภัณฑ์แบบนั่งยอง. วารสารข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการไทย. 1(1), 31-36.
ไวยวิทย์ ไวยกาญจน์ และคณะ (2555). การประเมินทางการยศาสตร์ส้าหรับงานยกในโรงงานผลิตชินส่วนรถยนต์. ใน การประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ ประจำปี พ.ศ. 2555 17-19 ตุลาคม 2555 ชะอำ เพชรบุรี(น. 492-502). เพชรบุรี: คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร.
Mark Middlesworth. (2020). A Step-by-Step Guide to the REBA Assessment Tool. https://ergoplus.com/reba-assessment-tool-guide/.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีนอร์ทเทิร์น
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.