พฤติกรรมการใช้ยาของผู้สูงอายุที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง จังหวัดเพชรบูรณ์
คำสำคัญ:
การรับรู้ด้านสุขภาพ, พฤติกรรมการใช้ยา, ผู้สูงอายุบทคัดย่อ
การวิจัยเชิงพรรณนามีวัตถุประสงค์ เพื่อ ศึกษาการรับรู้ด้านสุขภาพที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้ยาของผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูง ประชากรคือ ประชาชนที่มีอายุ 6 0 ปีขึ้นไปที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์เป็นโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 1,031 คน ใช้สูตร การคำนวณกลุ่มตัวอย่างที่ทราบจำนวนประชากรที่แน่นอนของ Daniel ได้กลุ่มตัวอย่างจำ นวน 260 ราย ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่ผ่า นการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และความเที่ยงได้ค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่าของครอนบาช เท่ากับ 0.92 วิเคราะห์ความสัมพันธ์ใช้สถิติ Pearsons Product Moment Correlation Coefficient ผลการวิจัยพบว่า การรับรู้ด้านสุขภาพที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้ยาของผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูงจังหวัดเพชรบูรณ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ การรั บรู้โอกาสเสี่ยงของโรคความดันโลหิตสูง (r=0.18, p-value=0.003) การรับรู้ความรุนแรงข องโรคความดันโลหิตสูง (r=0.21, p-value=0.001) การรับรู้ประโยชน์ของพฤติกรรมการใ ช้ยา (r=0.22, p-value<0.001) การรับรู้อุปสรรคของพฤติกรรมการใช้ยา (r=0.27, p-val ue<0.001) ตามลำดับ
References
ชมพูนุช พรหมภักดิ์. (2556). การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุของประเทศไทย (Aging society in Thailand). วารสารสำนักวิชาการส านัก เลขาธิการวุฒิสภา; 3(16): 3.
ณัฐธยาน์ ประเสริฐอ าไพสกุล และคณะ. (2551). ปัจจัยท่านายพฤติกรรมการป้องกันภาวะน้ำตาลในเลือดสูงของผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวานที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด. รามาธิบดีพยาบาลสาร; 14(3): 298-311.
สุภรณ์ สุขพรั่งพร้อม. (2551). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม. (วิทยานิพนธ์ ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารสาธารณสุข). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2557). รายงานการส่ารวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงาน.
อมรรัตน์ ภิรมย์ชม, อนงค์ หาญสกุล. (2555). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันอันตรายจากการประกอบอาชีพของแรงงานนอกระบบ กลุ่มตัดเย็บเสื อผ้ายืดบ้านโนนโพธิ์ ต่าบลลุ่มน้ำชี อำเภอบ้านเขว้า จังหวัดชัยภูมิ. วารสารคณะพลศึกษา; 15(1): 108-118.
อัจฉรา จินดาวัฒนวงศ์และคณะ. (2555). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความเชื่อด้านสุขภาพกับพฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. Rama Nurs J; 4(2), 58-66.
อุไรพร คล้ำฉิม. (2554). ปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงของผู้ที่มีความดันโลหิตสูงระยะเริ่มต้นในจังหวัดสมุทรสงคราม. (วิทยานิพนธ์ ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารสาธารณสุข) มหาวิทยาลัยบูรพา.
อุมาพร ปุญญโสพรรณ และคณะ. (2554). การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคและพฤติกรรมการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงของสตรีวัยทองในต่าบลท่าฉาง อำเภอท่าฉาง จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์; 3(1), 57-57.
Best, John W. (1977). Research is Evaluation. (3rd ed). Englewod cliffs: N.J. Prentice Hall.
Becker, Marshall H. (1974). The Health Belief Model and Preventive Behavior. Health Education Monographs.
Connelly, J. E., Philbrick, J. T., Smith, JR, G. R., Kaiser, D. L., & Wymer, A. (1987). Health perceptions of primary care patients and the influence on health care utilization. Medical Care, 27(3), S599-S109.
Cronbach. (1997). Essentials of Psychological Testing. New york: Harper and Row.
Daniel W.W. (2010). Biostatistics: Basic Concepts and Methodology for the Health Sciences. (9thed). New York.
John Wiley & Sons.Janz, N.K. & Becker, M.H. (1984). The Health Belief Model: A Decade Later. Health Education Quarterly, 11(1), 973-975.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีนอร์ทเทิร์น
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.