การศึกษาตัวแปรสำหรับระบบแนะนำการท่องเที่ยว

ผู้แต่ง

  • อภิชัย ซื่อสัตย์สกุลชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก
  • นมิดา ซื่อสัตย์สกุลชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก
  • วันชนะ จูบรรจง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก

คำสำคัญ:

ระบบแนะนำ, การท่องเที่ยว

บทคัดย่อ

          การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาตัวแปรสำหรับระบบแนะนำการท่องเที่ยว  ขั้นตอ นการวิจัยเริ่มจากการศึกษาและรวบรวบข้อมูลจากงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว   จัด ทำตารางสรุปรายการ ซึ่งตัวแปรที่พบในงานวิจัย โดยในเบื้องต้นมีตัวแปรจำนวน 21 ตัวแปร และคัดเลือกตัวแปรที่มีการอ้างอิงในงานวิจัยตั้งแต่ 2 บทความขึ้นไป คงเหลือจำนวนตัวแป รทั้งสิ้น 9 ตัวแปร  จากนั้นดำเนินการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญด้านการท่องเที่ยวเพื่อยืนยันควา มเหมาะสมของตัวแปรทั้ง 9 ตัวแปร ผลการวิจัยพบว่า ตัวแปรจำนวน 9 ตัวแปร นั้นมีความเห มาะสมที่จะนำไปใช้เพื่อกำหนดเป็นเงื่อนไขสำหรับระบบแนะนำการท่องเที่ยว โดยมีตัวแปรทั้ง 9 ตัวแปร  ประกอบด้วย  1) ระยะเวลาในการท่องเที่ยว 2) ค่าใช้จ่ายในการท่องเที่ยว 3) แหล่งท่องเที่ยว/จุดสนใจ/จุดแวะพัก  4) ที่พัก 5) จำนวนผู้ร่วมเดินทาง 6) พาหนะในการเดิ นทาง 7) ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ร่วมเดินทาง (เพื่อน/ครอบครัว) 8) ร้านอาหาร  และ 9) ร้านจำหน่ายสินค้าที่ระลึก มีตัวแปรที่ได้จากการศึกษานี้ นอกจากจะนำไปใช้เป็นตัวแปรสำหรับระบบแนะนำการท่องเที่ยวแล้ว  ยังสามารถนำไปใช้เพื่อศึกษาความสัมพันธ์และพัฒนารูปแ บบการท่องเที่ยวในมิติอื่นได้

References

กรวรรณ สังขกร และศันสนีย์ กระจ่างโฉม. (2562). เจาะลึกพฤติกรรมและความต้องการของนักท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ในพื้นที่ล้านนา 8 จังหวัด. รายงานผลการวิจัย. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ชุมพล รอดแจ่ม. (2555). เส้นทางการท่องเที่ยวเชิงศิลปวัฒนธรรม อ าเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี. รายงานผลการวิจัย. วิทยาลัยราชพฤกษ์.

ณิชาภัทร สุรวัฒนานนท์. (2563). การท่องเที่ยวกับบทบาทขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย ฮีโร่จ าเป็นหรือฮีโร่ตัวจริง?. https://www.bot.or.th/Thai/ResearchAndPublications/articles/ Pages/default.aspx.

ดวงเดือน อัศวสุธีรกุล. (2558). กระบวนการวางแผนการเดินทางอัตโนมัติ. วารสารเทคโนโลยีสารสนเทศ. 11(1), 12-21.

ธัญญรัตน์ ไชยคราม. (2562). การประยุกต์ระบบการระบุต าแหน่งทางภูมิศาสตร์เพื่อแนะน าการท่องเที่ยวในพื้นที่ 12 เมืองต้องห้าม...พลาดในกลุ่มการท่องเที่ยวภาคกลาง. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 38(6), 666-673.

ประสิทธิ์ รัตนพันธ์. (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้ามาท่องเที่ยวในจังหวัดสงขลา. รายงานผลการวิจัย. มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.

ประเสริฐ ใจสม, ศรีปริญญา ธูปกระจ่าง, ชาญเดช เจริญวิริยะกุล และคณะ. (2563). บุพปัจจัยของความยั่งยืนของการท่องเที่ยวเมืองรอง. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร. 8(1), 133-144.

ลลิตา พ่วงมหา. (2558). พฤติกรรมการแสวงหาข่าวสารเพื่อการตัดสินใจท่องเที่ยวภายในประเทศของผู้สูงอายุชาวไทย. รายงานผลการวิจัย. มหาวิทยาลัยราชภัฎธนบุรี.

วารัชต์ มัธยมบุรุษ. (2562). โครงสร้างของระบบการท่องเที่ยว. วารสารการบริการและการท่องเที่ยวไทย. 14(1), 94-102.

ศศิวิมล กอบัว. (2556). การพัฒนาระบบวางแผนแผนการเดินทางท่องเที่ยวภายใต้เงื่อนไขบังคับด้านเวลา. (วิทยานิพนธ์วิทยาการสารสนเทศมหาบัณฑิต, สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ บัณฑิตวิทยาลัย). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.

Parikh, V., Keskar, M., Dharia, D., & Gotmare, P. (2018, April). A Tourist Place Recommendation and Recognition System. In 2018 Second International Conference on Inventive Communication and Computational Technologies (ICICCT) (pp. 218-222). IEEE.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

19-02-2023