ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้หูดับของประชาชน อำเภอทุ่งเสลี่ยม จังหวัดสุโขทัย
คำสำคัญ:
พฤติกรรม, การป้องกันโรค, โรคไข้หูดับบทคัดย่อ
การวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้หูดับของประชาชน อำเภอทุ่งเสลี่ยม จังหวัดสุโขทัย กลุ่มตัวอย่างคือ ประชา ชน อำเภอทุ่งเสลี่ยม จังหวัดสุโขทัย จำนวน 390 คน จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและสถิติวิเคราะห์ถดถอยพหุแบบขั้นตอน ผลการวิจัย พบว่า การรับรู้อุปสรรคการป้องกันโรคไข้หูดับ (β = 0.3 82) การรับรู้ประโยชน์ของการป้องกันโรคไข้หูดับ (β = 0.256) สถานะภาพโสด (β = -5.19 1) การรับรู้โอกาสเสี่ยงโรคไข้หูดับ (β = 0.117) และแรงจูงใจในการป้องกันโรคโรคไข้หูดับ (β = 0.159) โดยสามารถร่วมกันทำนายพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้หูดับได้ร้อยละ 34.3 อ ย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 ผลการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรส่งเส ริมให้ประชาชนมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เหมาะสมเพื่อป้องกันการเกิดโรคโรคไข้หูดับ ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้หูดับ และลดอัตราตายจากโรคไข้หูดับของประชาชนต่อไป
References
กุลจิรา เพ็ชรกุล, และกรรณิการ์ ณ ลำปาง. (2563). ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติในการป้องกันการติดเชื้อสเตรปโตคอกคัสซูอิสของประชาชน จังหวัดเชียงใหม่. วารสารสาธารณสุขล้านนา, 16(1), 13-23.
กรมการปกครอง. (2561). สถิติประชากรการทะเบียนราษฎร (รายเดือน) สำนักงานบริหารทะเบียน กรมการปกครอง. https://stat.bora.dopa.go.th/stat/statnew/statMONTH/ statmonth/#/mainpage.
กรมควบคุมโรค. (2552). คู่มือแนวทางเฝ้าระวังและสอบสวนโรคติดเชื้อสเตร็พโตคอกคัส ซูอิส. กรุงเทพมหานคร: ส านักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปถัมภ์.
ชินานาฏ มั่นคง. (2550). ภาวะหูหนวกถาวรจากเชื้อ streptococcus suis ในโรงพยาบาลก าแพงเพชร (Permanent deafness due to streptococcus suis infection in Kamphaengphet hospital). วารสารโรงพยาบาลกำแพงเพชร. แผนก หู คอ จมูก โรงพยาบาลกำแพงเพชร จังหวัดกำแพงเพชร, 1(9), 1-11.
ชุษณา สวนกระต่าย. (2548). ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโรคติดเชื้อ Streptococcus suis. กรุงเทพมหานคร: คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ไชยนันท์ ทยาวิวัฒน์, อรชร วิชัยค า, และอนุพงษ์ เพียรไพรงาม. (2555). ผู้ป่วยโรคสเตร็บโตคอกคัส ซูอิส (Streptococcus suis) ที่มารักษาที่โรงพยาบาลเชียงคำ อำเภอเชียงค า จังหวัดพะเยา ปี 2552-2554: เครื่องมือคัดกรอง ผู้ติดเชื้อสเตร็บโตคอกคัส ซูอิส. วารสารสมาคมเวชศาสตร์ป้องกันแห่งประเทศไทย, 2(2): 119-132.
เชาวลิต ฝักฝ่าย. (2562). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อสเตร็พโตค็อกคัส ซูอิส ของประชาชนตำบลหาดล้า อำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์. อุตรดิตถ์: โรงพยาบาลอุตรดิตถ์.
เด่นนภา แซ่หล่อ. (2561). โครงการหมูปรุงสุกชีวิตปลอดภัยห่างไกลโรคไข้หูดับ. https://localfund.happynetwork.org/project/71724.
ธัญญรัตน์ เกิดสุวรรณ. (ม.ป.ป.). กินหมูดิบ….ถึงตาย ไม่ใช่แค่หูดับ. ส านักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ. https://www.hiso.or.th/hiso/tonkit/tonkits_67.php.
ยุทธ ไกยวรรณ์. (2556). การวิเคราะห์สถิติหลายตัวแปรส าหรับงานวิจัยกรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
รุจิรา ดุริยศาสตร์, ณิตชาธร ภาโนมัย, สรรเพชร, อังกิติตระกูล, และฐิติมา นุตราวงศ์. (2558). พฤติกรรมสุขภาพ
ในการป้องกันโรคติดเชื้อStreptococcus suis ของประชาชนในตำบลนาขมิ้น และตำบลโพนจาน อำเภอโพนสวรรค์ จังหวัดนครพนมม. วารสารสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดขอนแก่น, 22(2), 75-84.
วรวุฒิ เจริญศิริ. (2563). เชื้อสเตร็ปโตคอคคัสซูอิส. https://www.bangkokhealth.com/17626.
วัฒนา โยธาใหญ่, อดุลย์ศักดิ์ วิจิตร, และเกรียงศักดิ จิตรวัชระพันธ์. (2549). บริบททางสังคมและการบริโภคนิสัยของประชาชนในหมู่บ้านที่เกิดโรคโบทูลิซึม จังหวัดพะเยา ปี 2549. วารสารสาธารณสุขล้านนา, 2(3), 216-229.
ศุภร ฟุ้งลัดดา, และประเสริฐ ทองเจริญ. (2548). โรคติดเชื้อสเตร็พโตคอกคัส ซูอิส ในมนุษย์: ทบทวนรายงานในประเทศไทย และจุลชีววิทยา. วารสารวิชาการสาธารณสุข, 14(4), 581-590.
สมาคมโรคติดเชื้อในเด็กแห่งประเทศไทย. (ม.ป.ป.). โรคติดเชื้อสเตร็พโตค็อกคัส ซูอิส (STREPTOCOCCUS SUIS). https://www.pidst.or.th/A233.html.
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 2. (2564). รายงานสอบสวนโรคเบื้องต้นไข้หูดับเสียชีวิต ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก. พิษณุโลก: ส านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 2.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุโขทัย. (2562). รายงานประจำปีงบประมาณ 2562. สุโขทัย: กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุโขทัย.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุโขทัย. (2564). สรุปรายงานสถานการณ์โรค Streptococcus suis จังหวัดสุโขทัย ระหว่างวันที่ 1 มกราคม 2564 ถึงวันที่ 24 มิถุนายน 2564. สุโขทัย: กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุโขทัย.
สำนักสื่อสารความเสี่ยง กรมควบคุมโรค. (2564). กรมควบคุมโรค เผยแพร่พยากรณ์โรคฯ ฉบับที่ 21/2564 "เตือนประชาชน โดยเฉพาะในพื้นที่ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ขอให้รับประทานหมูที่ปรุงสุก หลีกเลี่ยงการรับประทานเนื้อหมูดิบ หรือสุกๆ ดิบๆ อาจเสี่ยงป่วยด้วยโรคไข้หูดับ". https://ddc.moph.go.th/brc/news.php?news =18776&deptcode=brc.
สำนักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ. (2564). กรมควบคุมโรค เตือนประชาชนหลีกเลี่ยงการรับประทานหมูดิบ หรือสุกๆดิบๆ เสี่ยงป่วยด้วย โ รคไข้หูดับหรือถึ งขั้นเสียชีวิตได้. https://ddc.moph.go.th/brc/.
อัมพร ยานะ. (2552). ความรู้และการปฏิบัติในการป้องกันการติดเชื้อสเตร็พโตค็อกคัสซูอิส ของประชาชน ตำบลแม่นาเรือ อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา. การค้นคว้าแบบอิสระปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
Bloom, B. S. (1975). Taxonomy of education objective, Handbook I: Cognitive domain. New York: David Mckay.
Maiman, L. A., & Becker, M. H. (1974). The health belief model: Origins and correlates in psychological theory. Health education monographs, 2(4), 336-353.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีนอร์ทเทิร์น
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.