การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อขมิ้นชันในสภาพปลอดเชื้อ

ผู้แต่ง

  • ณัตฐิยา ชัยชนะ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
  • สุภาวดี แก้วเมืองกล

คำสำคัญ:

ขมิ้นชัน, การชักนำยอด, การชักนำราก

บทคัดย่อ

          งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อของขมิ้นชันในสภาพปลอดเชื้อ  โดยทำการศึกษาการฟอกฆ่าเชื้อหน่อขมิ้นชันด้วยสารละลายคลอร็อกซ์ ความเข้มข้น 10%,  15% และ 20% เป็นเวลา 10 และ 15 นาที ผลการศึกษาพบว่า การฟอกฆ่าเชื้อโดยใช้สารละลายคลอร็อกซ์ 15% เป็นเวลา 15 นาที เป็นวิธีการฟอกฆ่าเชื้อที่ดีที่สุดโดยไม่พบการปนเปื้อนของจุลินทรีย์  และมีอัตราการรอดชีวิต 100% หลังจากนั้น  ย้ายเลี้ยงหน่อของขมิ้นชันลงบนอาหารชักนำยอดและรากสูตร MS (Murashige and Skoog) ร่วมกับสารค- วบคุมการเจริญเติบโต benzyladenine (BA)  และ α -naphthalene acetic Acid (NA A) ผลการศึกษาพบว่า สูตรอาหาร MS ไม่เติมสารควบคุมการเจริญเติบโต มีสามารถชักนำให้เกิดยอดและรากสูงสุดที่ 20% (ความยาวยอดเฉลี่ย 11.1 เซนติเมตร) และ 10% (ความยาวรากเฉลี่ย 8.5 เซนติเมตร) ตามลำดับ

References

กิ่งกาญจน์ ค าลือ. (2555). อาหารอย่างง่ายส าหรับการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อของหัวหอมใหญ่. (วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาการสอนชีววิทยา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

จิราภรณ์ ปาลี. (2559). การขยายพันธุ์ต้นลิงลาว (Tupistra albiflora K. Larsen) ในสภาพธรรมชาติและการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, 6(2), 1-16.

เจนจิรา ชุมภูค า, นนทกร พรธนะวัฒน์, ณัฐพงค์ จันจุฬา, ณรงค์ชัย พิพัฒน์ธนวงศ์, เบ็ญจารัชด ทองยืน และ มาริษา สุขปานแก้ว. (2559). การเพาะเมล็ดมัลเบอร์รี่ในสภาพปลอดเชื้อ. Thai Journal of Science and Technology, 5(3), 265-272.

ฐิติภาสิ ชิตโชติ. (2530). การผลิตต้นพันธุ์ขิงปลอดโรค โดยวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ. ปัญหาพิเศษปริญญาตรี ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ธงชัย ศรีตะปัญญะ. (2561). การขยายพันธุ์จันทน์ผาโดยเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช. รายงานการวิจัย คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.

ภพเก้า พุทธรักษ์ และ วารุต อยู่คง. (2554). การอนุรักษ์และการขยายพันธุ์มะคังขาว และผักหวานบ้านด้วยเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ. Naresuan University Journal, 19(3),1-7.

มณฑล สงวนเสริมศรี, รัฐพร จันทร์เดช, พีระวุฒิ วงศ์สวัสดิ์, วารุต อยู่คง และ ภพเก้า พุทธรักษ์. (2556). การชักนำให้เกิดหลายยอดจากการเพาะเลี้ยงใบอ่อนของกุหลาบปารากวัยในสภาพปลอดเชื้อ.Naresuan Phayao Journal, 6(1), 47-51.

รัฐพล สุขัมศรี. (2550). การชักน าให้เกิดยอดทวีคูณของหน่อไม้ฝรั่ง (Asparugus officinalis L.) จากตาข้างและ แคลลัส. (วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาชีววิทยา). มหาวิทยาลัยศิลปากร.

รัตนา ขามฤทธิ์ และ จิตรกร ปรีแม่น. (2562). การฟอกฆ่าเชื้อที่ผิวและการชักน าให้เกิดต้นจากไรโซมของไพลในหลอดทดลอง. แก่นเกษตร, 47(1), 1393-1398.

ฤทัยชนก ชิตเดชะ, พิมพ์โพยม บุญมา, ผการัตน์ โรจน์ดวง และ สุภาวดี รามสูตร. (2561). การขยายพันธุ์มะรุมโดยวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ (Moringa oleifera Lam.) วารสารวิชชา, 37(2), 86-95.

อภิชาติ ชิดบุรี, พิทักษ์ พุทธวรชัย และพงศ์ยุทธ นวลบุญเรือง. (2543). ผลของระดับความเข้มข้น BA ที่มีต่อการเพิ่มจำนวนต้นกระชายด าในสภาพปลอดเชื้อ. วารสารเกษตร, 17(2), 100-105.

อัญชลี ตาค า และ เกวลิน คุณาศักดากุล. (2555). การผลิตกล้าพริกพิโรธปลอดโรคไวรัสโดยเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ. วารสารเกษตร, 28(1), 61-74.

Bhattacharya, S., & Bhattacharyya, S. (1997). Rapid multiplication of Jasminum officinaie L. by in vitro culture of nodal explants. Plant Cell, Tissue and Organ Culture, 51, 57-60.

Kongbangkerd, A., & Kamol, P. (2006). Effect of Cytokinins and auxins on development of Curcuma parviflora Wall. cultured in vitro. NU Science Journal, 2(2), 183 – 201.

Murashige, T., & Skoog, F. (1962). A revised medium for rapid growth and bio assays with tobacco tissue cultures. Physiol. Plant., 15, 473–497.

Puhan, P., & Siddiq, E.A. (2 0 1 3 ) . Protocol optimization and evaluation of rice varieties response to in vitro regeneration. Advances in Bioscience and Biotechnology, 4, 647-653.

Rout, G.R., Mahato, A., & Senapati, S.K. (2 0 0 8 ) . In vitro clonal propagation of Nyctanthes arburtristis. Biologia plantarum, 52(3), 521-524.

Sanjeev, K., Alka Narula, M., Sharma, P., & Srivastava, P.S. (2003). Effect of copper and zinc on growth, secondary metabolite content and micropropagation of Tinospora cordifolia: A medicinal plants. Phytomorphology, 53(1), 79-91.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

03-03-2023