ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ด้านสุขภาพและการจัดการอาการกำเริบเฉียบพลันของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังเขตโรงพยาบาลบ้านด่านลานหอย จังหวัดสุโขทัย

ผู้แต่ง

  • ทัศนา วงศ์กิตติรัตน์ โรงพยาบาลบ้านด่านลานหอย จังหวัดสุโขทัย
  • อมรศักดิ์ โพธิ์อ่ำ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

คำสำคัญ:

การรับรู้ด้านสุขภาพ, โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง, การจัดการอาการกำเริบเฉียบพลัน

บทคัดย่อ

          การวิจัยเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ด้านสุข ภาพกับการจัดการอาการกำเริบเฉียบพลันของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง กลุ่มประชากรคือ ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่มารับการที่คลินิกโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ณ โรงพยาบาลบ้านด่า- นลานหอย จังหวัดสุโขทัย จำนวน 138 คน  โดยใช้สูตรการคำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างของ Daniel เท่ากับ 121 คน  ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ  เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 คุณลักษณะส่วนบุคคล ในส่วนที่ 2 การรับรู้ด้านสุขภาพ ส่วนที่ 3 การจัดการอาการกำเริบเฉียบพลันของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง  ซึ่งแบบสอบถา- มผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน  และนำไปทดลองใช้เพื่อวิ เคราะห์ค่าความเชื่อมั่นโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าครอนบาค เท่ากับ 0.962 วิเคราะห์ข้อ มูลโดยใช้สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน  ผลการวิจัย พบว่า มีการจัดการอาการกำเริบเฉียบพลันของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง มีคะแนนการปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง (74.40 %) (gif.latex?\bar{x}=3.46, S.D.=0.303) และการรับรู้ด้านสุขภาพ  มีคะแนนเฉลี่ยในระดับปานกลาง (71 %) (gif.latex?\bar{x}=3.59, S.D.=0.324) ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ พบว่า การรับรู้ด้านสุขภาพมีควา- มสัมพันธ์กับการจัดการอาการกำเริบเฉียบพลันของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง เขตโรงพยา บาลบ้านด่านลานหอย จังหวัดสุโขทัย อย่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r=0.252, P-value =0.252)

References

กระทรวงสาธารณสุข. (2563). Health Data Center.เข้าถึงได้จาก:https://hdcservice. moph.go.th/hdc/reports/page.php.

ชายชาญ โพธิรัตน์. (2551). โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (chronic obstructive lung disease).กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัดการพิมพ์.

หน่วยเวชระเบียน โรงพยาบาลบ้านด่านลานหอย. (2561). รายงานประจำปี 2560. เอกสารอัดสำเนา.

สมาคมอุรเวชช์แห่งประเทศไทย. (2548). แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังในประเทศไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2548). กรุงเทพฯ : สมาคมอุรเวชช์แห่งประเทศไทย.

Best, John W. (1977). Research is Evaluation. (3 rded). Englewod cliffs : N.J. Prentice Hall.

Boonsawat W. (2013). Treatment guideline for chronic obstructive pulmonary disease.http://eac2 .dbregistry.com/ site_data/dbreggistry_ eac/1/CopdManagement.

Cronbach, Lee J. (1951). Essentials of Psychological Testing. (3rd ed). New York : Harper.

Daniel W.W. (2010). Biostatistics: Basic Concepts and Methodology for the Health Sciences.(9th ed). New York : John Wiley & Sons.

Decramer M, Janssens W, Miravitlles M. (2012). Chronic obstructive pulmonary disease.Lancet; 379(9823),1341-51.

Division of Strategy and Planning. (2014). Annual report 2014. Bureau of Non Communicable Disease: 20-21.

Donaldson, Cam and Gerard, Karen. (2002). Economic of Health Care Financing: The Visible Hand. London : Macmillan.

Goldman L, Andrew SI. (2012). Goldman’s cecil medicine. (24th ed). Philadelphia: Elsevier.

National Health Security.(2016).Quality improvenment for management of asthma and chronic obstructive pulmonary disease.Cited.Available from : http://nhso.go.Th/frontend/NewsInformationDetail.acpx?.

Rosenstock ,Irain M. (1974).The Health Belife Model and Prevention Behavior.Health Education Monographs.

Seemungal T, Harper-Owen R, Bhowmilk A, Moric I, Sanderson G, Message S, Wedzicha J.A. (2011). Respiratory viruses, symptoms and inflammatory markers in acute exacerbations and chronic obstructive pulmonary disease. American Journal of Respiratory and Critical Care Medicine. 164(9),1618-1623.

Wagner EH, Austin BT, Davis C, et al. (2001). Improving chronic illness care: translating evidenceinto action. HealthAff. 20(6), 64-78.

World Health Organization. (2016). World Statistics. Geneva: World Health Organization.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

09-06-2023