ความเชื่อมโยงระหว่างพฤติกรรมก่อโรคกับสภาวะสุขภาพ

ผู้แต่ง

  • วัฒนา ชยธวัช มหาวิทยาลัยปทุมธานี

คำสำคัญ:

พฤติกรรมก่อโรค, รายงานการตรวจร่างกาย, สภาวะสุขภาพ

บทคัดย่อ

          มหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่งมีโครงการมหาวิทยาลัยสุขภาพดี   และมีการเก็บข้อมูลรายงานการตรวจร่างกายบุคลากรประจำปีไว้จึงได้ทำการศึกษาเบื้องต้นเกี่ยวกับพฤติกรรมสุ ขภาพ  คือ การสูบบุหรี่ การดื่มแอลกอฮอล์ และการออกกำลังกาย กับปัจจัยทางด้านกายภา พ เคมีและชีววิทยาที่เป็นตัวกำหนดโรคเมทาบอ-ลิคซินโดรม (Metabolic Syndrome) แ ละโรคไม่ติดต่อเรื้อรังต่าง ๆ (Noncommunicable diseases - NCDs) จากรายงานการต รวจร่างกายในปี พ.ศ. 2560 จำนวน 822 คน พบว่า บุคลากรมหาวิทยาลัยแห่งนี้สูบบุหรี่ 8.1 6%  ดื่มแอลกอฮอล์ 25% และไม่ออกกำลังกาย 29.02%  มีระดับระดับโคเลสเตอรอลและไขมันเลวต่างไปจากเกณฑ์ปกติ สหสัมพันธ์ระหว่าง BMI กับ ระดับน้ำตาลในเลือด  และไขมันดี (HDL-C) ที่ 0.299 และ -0.312 ตามลำดับ  การพัฒนาแบบสอบถามเพื่อประเมินพฤติ กรรมก่อโรคเพื่อให้สามารถประเมินด้วยสเกลเชิงปริมาณได้ดีขึ้น ควรมีการศึกษาถึงปัจจัยส นับสนุนปัจจัยสุขภาพที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของบุคลากร เพื่อส่งเสริมบุคลากรให้บรรลุวัตถุ ประสงค์มหาวิทยาลัยสุขภาพดีต่อไป

References

จุฬาภรณ์ โสตะ, นงลักษณ์ พันธจารุนิธิ, ทรงพล ต่อนี, วิรัติ ปานศิลา, สมโภชน์ รติโอฬาร, ยุวดี รอดจากภัย, และคณะ. (2550). การติดตามประเมินผลภายในของโครงการส ารวจและประเมินผลสถานการณ์การสร้างเสริมสุขภาพของสถาบันการศึกษาสาธารณสุขในประเทศไทย. ศรีนครินทร์เวชสาร. 22(1), 32-37.

วราภรณ์ ค ารศ, พรพิมล ภูมิฤทธิกุล, ชนิดา มัททวางกูร, เพ็ญรุ่ง นวลแจ่ม, กุลธิดา จันทร์เจริญ, เนตร หงษ์ ไกรเลิศ, และคณะ. (2556). รายงานวิจัยพฤติกรรมและการเข้าถึงการออกก าลังกายของคนภาษีเจริญ. ศูนย์วิจัยเพื่อพัฒนาชุมชนมหาวิทยาลัยสยาม ด้วยการสนับสนุนของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.).

วิชัย เอกพลากร (บก.). (2557). รายงานการส ารวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2557. นนทบุรี: สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. หน้า 170.

อารเอสยู เฮลท์แคร์(RSU Healthcare). (2561). สมุดรายงานผลการตรวจสุขภาพ. บริษัท อาร์เอสยู เฮลท์แคร์จำกัด.

Alberti K.G.M.M., et al. (2009). Harmonizing the metabolic syndrome: A joint interim statement of the international diabetes federation task force on epidemiology and prevention; National Heart, Lung, and Blood Institute; American Heart Association; World Heart Federation; International Atherosclerosis Society; and International Association for the Study of Obesity. Circulation. 120, 1640-1645. doi: 10.1161/CIRCULATIONAHA.109.192644.

American Heart Association. (2018). Lifestyle Risk Factors (Online). https://www. stroke.org/understand-stroke/preventing-a-stroke/lifestyle-risk-factors/.

Fagbemi K. (2011, October). Q: What is the best questionnaire to screen foralcohol use disorder in an office practice?. Cleveland Clinic Journal of Medicine. 78(10), 649-651.

Farhud DD. (2015, November). Impact of Lifestyle on Health. Iran J Public Health. 44(11), 1442-1444.

Johnson J., Lee A., Vinson D., Seale P. (2013). Use of AUDIT-Based Measures to Identify Unhealthy Alcohol Use and Alcohol Dependence in Primary Care: A Validation Study. Alcohol Clin Exp Res. 37(S1), E253–E259.

Mayo Foundation for Medical Education and Research (MFMER). (2019). Diabetes Diagnosis. https://www.mayoclinic.org/diseases-conditions/diabetes /diagnosis-treatment/drc2037145 1.

Sponsiello-Wang Z., de La Bourdonnaye G., David M., Lüdicke F., and Weitkunat R. (2017, December). Accuracy of the Smoking Questionnaire. Contributions to Tobacco Research. 27(8), 224-39. DOI: 10.1515/cttr-2017-0023.

World Health Organization (WHO). (2019). Home/About WHO/Who we are/Constitution.

https://www .who.int/about/who-we-are/constitution.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

16-06-2023